รหัสและคำอธิบายเล่ม 4  >> หมวดวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

ก่อนหน้า ต่อไป

: : หมู่วิชาเทคโนโลยีฟิสิกส์ประยุกต์ในอุตสาหกรรม : :

หมู่วิชาเทคโนโลยีฟิสิกส์ประยุกต์ในอุตสาหกรรม ซึ่งอยู่ในหมวดวิชาเทคโนโลยี อุตสาหกรรม ได้จัดลักษณะเนื้อหาวิชาออกเป็น ดังนี้
      1. พื้นฐานทั่วไป วัสดุช่าง โลหการ การบำรุงรักษา การออกแบบและเขียนแบบทั่วไป                                                                                      (564-1--)
      2. การประยุกต์ทั่วไป เครื่องกลหนัก การติดตั้งอุปกรณ์                                                                                                                                  (564-2--)
      3. ฟิสิกส์ทั่วไป เครื่องกลเล็ก เครื่องกลไฟฟ้า งานก่อสร้างและคอนกรีต                                                                                                          (564-3--)
      4. ฟิสิกส์ยุคใหม่ ระบบไฟฟ้ากำลัง โรงจักรต้นกำลัง การควบคุม ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรม                                                            (564-4--)
      5. ฟิสิกส์ประยุกต์ ระบบสื่อสาร ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในยานยนต์การเพิ่มผลผลิต
           การจัดการ การบริหาร การขจัดมลพิษ สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย                                                                                                        (564-5--)
      6. ปฏิบัติการฟิสิกส์ การวัด เครื่องมือวัดและการคำนวณ                                                                                                                                 (564-6--)
      7. อื่น ๆ                                                                                                                                                                                                        (564-7--)
      8. การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ                                                                                                                                                                       (564-8--)
      9. โครงการพิเศษ ปัญหาพิเศษ วิทยานิพนธ์ โครงการศึกษาเอกเทศ การสัมมนา และการวิจัย                                                                       (564-9--)

หมู่วิชาเทคโนโลยีฟิสิกส์ประยุกต์ในอุตสาหกรรม (564)
 

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป)

รหัสใหม่

รหัสเก่า

5643101

5643102

5643103

5643104

5643105

5643106

5643107

5643108

5643109

5643110

5643111

5643112

5643113

5643114

5643201

5643301

5643302

5643303

5643304

5643305

5643306

5643401

5643402

5643403

5643404

5643405

5643406

5643407

5643408

5643409

5643410

5643411

5643412

5643413

5643414

5643501

5643502

5643503

5643504

5643505

5643506

5643507

5643508

5643509

5643510

5643511

5643512

5643513

5643514

5643515

5643516

5643517

5643518

5643519

5643520

5643521

5643522

5643523

5643524

5643525

5643526

5643527

5643528

5643529

5643530

5643531

5643532

5643533

5643534

5643535

5643601

5643602

5643603

5643604

5643605

5643606

5643607

5643608

5643609

5643610

5643610

5643612

5643613

5643614

5643615

5643616

5643617

5643618

5643619

5643620

5643621

5643622

5643623

5643624

5643701

5644101

5644102

5644103

5644104

5644105

5644201

5644202

5644203

5644204

5644205

5644206

5644207

5644301

5644302

5644401

5644402

5644403

5644404

5644405

5644406

5644407

5644408

5644409

5644410

5644411

5644412

5644413

5644414

5644415

5644416

5644417

5644418

5644419

5644420

5644501

5644502

5644503

5644504

5644505

5644506

5644507

5644508

5644509

5564510

5644511

5644512

5644513

5644514

5644515

5644516

5644517

5644518

5644519

5644520

5644521

5644522

5644523

5644524

5644525

5644526

5644527

5644528

5644529

5644530

5644531

5644532

5644533

5644534

5644535

5644536

5644537

5644538

5644601

5644602

5644603

5644604

5644605

5644606

5644607

5644608

5644609

5644610

5644611

5644612

5644613

5644614

5644615

5644616

5644617

5644618

5644619

5644620

5644621

5644622

5644623

5644624

5644625

5644701

5644702

5644703

5644901

5644902

5644903

5644904

5644905

5644906

5644907

5644908

5644909

5644910

5644911

5644912

5644913

5644914

  คณิตศาสตร์วิศวกรรม

คณิตศาสตร์สำหรับวิศวกรรมไฟฟ้า

วัสดุวิศวกรรม

กระบวนการผลิต

วัสดุศาสตร์วิศวกรรมโยธา

วัสดุวิศวกรรมไฟฟ้า

โลหการเชิงวิศวกรรม

โลหการทางกายภาพ

การบำรุงรักษาทางวิศวกรรม

วัสดุการทางและวัสดุก่อสร้าง

การเขียนแบบก่อสร้าง

การเขียนแบบเครื่องจักรกล

การออกแบบโรงงานอุตสาหกรรม

เทคโนโลยีโทรคมนาคม

กลศาสตร์ของเครื่องจักรกล

สนามและคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

แม่เหล็กไฟฟ้าวิศวกรรม

กลศาสตร์

อุณหพลศาสตร์

เครื่องจักรกลไฟฟ้า

เครื่องเป่า เครื่องสูบ และเครื่องอัดของไหล

ฟิสิกส์แผนใหม่

ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 1

ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 2

ฟิสิกส์นิวเคลียร์

กลศาสตร์ควอนตัม

ระบบอัตโนมัติ

เทคโนโลยีระบบไฟฟ้ากำลัง

อิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรม

ระบบควบคุมทางวิศวกรรม

เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์กำลัง

ทฤษฎีสวิตชิ่ง

ยูนิตโอเปอเรชั่น

ระบบไฮดรอลิกส์และนิวแมติกส์

ระบบควบคุมด้วยนิวแมติกส์

ทฤษฎีกลศาสตร์ของไหล

ทฤษฎีสถิตยศาสตร์วิศวกรรม

ทฤษฎีพลศาสตร์วิศวกรรม

การถ่ายโอนความร้อนและมวล

ทฤษฎีวงจรไฟฟ้า

อิเล็กทรอนิกส์ทั่วไป

ดิจิตอลอิเล็กทรอนิกส์

ระบบไมโครโปรเซสเซอร์

เทคโนโลยีเซลแสงอาทิตย์

การจัดการความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมในอุตสาหกรรม

การควบคุมมลพิษและการขจัดของเสีย

การจัดหาเงินทุนอุตสาหกรรม

วิศวกรรมไฟฟ้าพื้นฐาน

วิศวกรรมเครื่องกลพื้นฐาน

การยศาสตร์อุตสาหกรรม

การศึกษาการทำงานและการวัดการทำงานอุตสาหกรรม

เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม

การบริหารงานอุตสาหกรรม

ความแข็งแรงของวัสดุ 1

ระบบควบคุมด้วยไฮดรอลิกส์

กลศาสตร์ปฐพี

วิศวกรรมชลศาสตร์

วิศวกรรมไฟฟ้า

ทฤษฎีวงจรข่ายไฟฟ้า

การสื่อสารทางอิเล็กทรอนิกส์

ทฤษฎีการวิเคราะห์วงจรอิเล็กทรอนิกส์

การวิเคราะห์วงจรข่ายไฟฟ้า

เครือข่ายการสื่อสารและสายส่ง

หลักของระบบการสื่อสาร

การลดสัญญาณรบกวนในวงจรอิเล็กทรอนิกส์

กลศาสตร์ของแข็ง

การบำรุงรักษาห้องแช่แข็ง

เทคโนโลยีวิศวกรรมฐานราก

เทคนิคการก่อสร้าง

ความแข็งแรงของวัสดุ 2

การวัดและเครื่องมือวัด

การวัดและเครื่องมือวัดไฟฟ้า

การวิเคราะห์เชิงตัวเลขในงานวิศวกรรม

ปฏิบัติการทฤษฎีวงจรไฟฟ้า

ปฏิบัติการเครื่องมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

เทคนิคการวิเคราะห์โครงสร้าง

ปฏิบัติการวิศวกรรมเครื่องกล 1

ปฏิบัติการทดสอบความแข็งแรงของวัสดุ

ปฏิบัติการไฮดรอลิกส์และกลศาสตร์ของไหล

วิศวกรรมการสำรวจงานก่อสร้าง

เทคนิคการสำรวจ

การรังวัดด้วยภาพถ่าย

ปฏิบัติการสำรวจและการรังวัดด้วยภาพถ่าย

การทดสอบวัสดุ

ปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้า

ปฏิบัติการวิเคราะห์วงจรอิเล็กทรอนิกส์

ปฏิบัติการวิศวกรรมเครื่องกล 2

ปฏิบัติการสนามและคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ปฏิบัติการกลศาสตร์และกลศาสตร์ของไหล

เครื่องมือทางวิศวกรรม

ทฤษฎีโครงสร้าง

ปฏิบัติการระบบไมโครโปรเซสเซอร์

ปฏิบัติการอุตสาหกรรม 1

ปฏิบัติการอุตสาหกรรม 2

เคมีสำหรับเทคโนโลยีนิวเคลียร์

การออกแบบบรรจุภัณฑ์

การออกแบบระบบความร้อน

การออกแบบเครื่องจักรกล

การออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกล

การออกแบบเครื่องจักรกลการเกษตร

การติดตั้งไฟฟ้า

การออกแบบการติดตั้งระบบไฟฟ้าและการประมาณราคา

เทคโนโลยีเครื่องยนต์สันดาปภายใน

กังหันแก๊ส

เทคโนโลยีวิศวกรรมยานยนต์

วิศวกรรมแทรกเตอร์การเกษตร

เครื่องจักรกลการก่อสร้าง

เทคโนโลยีคอนกรีต

เทคโนโลยีคอนกรีตอัดแรง

ฟิสิกส์ของสารกึ่งตัวนำ

สเปกโทรสโกปีของโมเลกุล

รังสีวิทยาและการวัดรังสี

สเปกตรัมอะตอม

การวิเคราะห์ผลึกด้วยรังสีเอกซ์

ระบบควบคุมการผลิตด้วยคอมพิวเตอร์

เทคโนโลยีการควบคุมอัตโนมัติ

เทคโนโลยีวิศวกรรมความสว่าง

เทคนิคการออกแบบระบบไฟฟ้า

การส่งกำลังของเครื่องจักรกลไฟฟ้า

เทคโนโลยีระบบควบคุมแบบป้อนกลับ

เทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้าแรงดันสูง

ระบบควบคุม

เทคนิคการป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง

การผลิต การส่ง และการจ่ายกำลังไฟฟ้า

ระบบควบคุมแบบดิจิตอล

เทคนิคการวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลัง

การแปรรูปพลังงานกลไฟฟ้า

โรงจักรไฟฟ้าต้นกำลังและสถานีย่อย

วิศวกรรมโรงจักรต้นกำลัง

อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้แสง

ฟิสิกส์นิวเคลียร์ประยุกต์

ฟิสิกส์เลเซอร์

ทัศนศาสตร์ประยุกต์

อุณหพลศาสตร์ประยุกต์

เทคโนโลยีเครื่องทำความเย็นและเครื่องปรับอากาศ

นิวเคลียร์อิเล็กทรอนิกส์

พลังงานนิวเคลียร์

เทคโนโลยีการผลิต

การวิจัยเชิงปฏิบัติการ

วิศวกรรมคุณค่า

การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ

การดำเนินงานในโรงงานอุตสาหกรรม

การควบคุมคุณภาพทางอุตสาหกรรม

การวิเคราะห์ต้นทุนทางอุตสาหกรรมและงบประมาณ

การจัดการงานก่อสร้าง

การวางแผนและควบคุมการผลิตทางอุตสาหกรรม

วิศวกรรมระบบเสียง

เทคนิคการออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์

เทคโนโลยีวิศวกรรมคลื่นจุลภาค

เทคโนโลยีระบบการสื่อสารด้วยดาวเทียม

เทคโนโลยีระบบการสื่อสารด้วยใยแสง

วิศวกรรมข่ายสายโทรศัพท์ตอนนอก

เทคโนโลยีวิศวกรรมสายอากาศ

เทคโนโลยีการออกแบบวงจรความถี่วิทยุ

เทคโนโลยีวิศวกรรมโทรศัพท์

การประมวลผลสัญญาณแบบดิจิตอล

เทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในยานยนต์

เทคโนโลยีการออกแบบวงจรดิจิตอลและลอจิก

ระบบการสื่อสารแบบดิจิตอล

การควบคุมเสียงและการสั่นสะเทือน

วิศวกรรมระบบการเกษตร

เทคโนโลยีเครื่องปรับอากาศ

การรักษาความปลอดภัยจากรังสี

การกำบังรังสี

เชื้อเพลิงเครื่องปฏิกรณ์ปรมาณูและวัฏจักรเชื้อเพลิง

การออกแบบโรงไฟฟ้านิวเคลียร์

การบำบัดมลพิษในอากาศ

ปฏิบัติการฟิสิกส์นิวเคลียร์และกลศาสตร์ควอนตัม

ปฏิบัติการไฮดรอลิกส์และนิวแมติกซ์

วิศวกรรมการประปาและสุขาภิบาล

วิศวกรรมการขนส่ง

วิศวกรรมการทาง

เทคนิคการออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก

วิธีใช้คอมพิวเตอร์สำหรับช่างโยธา

อุทกวิทยาและวิศวกรรมชลประทาน

ปฏิบัติการออกแบบโครงสร้างวัสดุเสริมและการก่อสร้าง

เทคนิคการออกแบบโครงสร้างใต้ดิน

เทคนิคการออกแบบผิวจราจร

ปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้าแรงดันสูง

ปฏิบัติการแปรรูปพลังงานกลไฟฟ้า

ปฏิบัติการระบบควบคุมแบบป้อนกลับ

ปฏิบัติการวิศวกรรมการสื่อสาร

ปฏิบัติการวิศวกรรมเครื่องกล 3

ปฏิบัติการวิศวกรรมเครื่องกล 4

ปฏิบัติการวิศวกรรมเครื่องกล 5

ปฏิบัติการเทคโนโลยีนิวเคลียร์

การออกแบบโครงสร้างไม้และโครงสร้างเหล็ก

ปฏิบัติการกลศาสตร์ปฐพีและวิศวกรรมฐานราก

ปฏิบัติการวิศวกรรมชลศาสตร์ การประปาและสุขาภิบาล

ปฏิบัติการอุตสาหกรรม 3

ปฏิบัติการอุตสาหกรรม 4

ทฤษฎีแถวคอย

กฎหมายอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม

กฎหมายไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

เทคนิคการวิเคราะห์ความวิบัติในการก่อส

การวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีฟิสิกส์อุตสาหกรรม

การวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีนิวเคลียร์

การวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิตอุตสาหกรรม

การวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีฟิสิกส์โครงสร้าง

การวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีไฟฟ้ากำลัง

การวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีไฟฟ้าสื่อสาร

การวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีฟิสิกส์เครื่องจักรกล

สัมมนาฟิสิกส์อุตสาหกรรม

สัมมนาเทคโนโลยีนิวเคลียร์

สัมมนาการเพิ่มผลผลิตอุตสาหกรรม

สัมมนาฟิสิกส์โครงสร้าง

สัมมนาไฟฟ้ากำลัง

สัมมนาไฟฟ้าสื่อสาร

สัมมนาฟิสิกส์เครื่องจักรกล

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(2-2)

2(1-2)

2(1-2)

3(3-0)

2(1-2)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(2-2)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(2-2)

3(2-2)

3(3-0)

3(2-2)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(2-2)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(2-2)

1(0-3)

1(0-3)

3(3-0)

1(0-3)

1(0-3)

1(0-3)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

1(0-3)

3(3-0)

1(0-3)

1(0-3)

1(0-3)

1(0-3)

1(0-3)

3(3-0)

3(3-0)

1(0-3)

1(0-3)

1(0-3)

3(3-0)

2(1-2)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

2(1-2)

3(2-2)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

2(1-2)

3(2-2)

3(2-2)

3(2-2)

3(3-0)

3(2-2)

3(3-0)

3(3-0)

3(2-2)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(2-2)

3(2-2)

3(2-2)

3(2-2)

3(2-2)

3(2-2)

3(3-0)

3(2-2)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(2-2)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(2-2)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

2(1-2)

3(2-2)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(2-2)

3(2-2)

3(2-2)

3(2-2)

3(3-0)

1(0-3)

1(0-3)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(2-2)

3(2-2)

1(0-3)

3(2-2)

3(2-2)

1(0-3)

1(0-3)

1(0-3)

1(0-3)

1(0-3)

1(0-3)

1(0-3)

1(0-3)

3(3-0)

1(0-3)

1(0-3)

1(0-3)

1(0-3)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(2-2)

3(2-2)

3(2-2)

3(2-2)

3(2-2)

3(2-2)

3(2-2)

3(2-2)

3(2-2)

3(2-2)

3(2-2)

3(2-2)

3(2-2)

3(2-2)

คำอธิบายรายวิชา
หมู่วิชาเทคโนโลยีฟิสิกส์ประยุกต์ในอุตสาหกรรม (564)

รหัส         ชื่อและคำอธิบายรายวิชา                                                                                                                     น(ท-ป)

5643101 คณิตศาสตร์วิศวกรรม                                                                                                                                                                   3(3-0)
             Engineering Mathematics
             
อินเวอร์สของฟังก์ชันตรีโกณมิติ ฟังก์ชันไฮเพอร์โบลิกและอินเวอร์ส ของมัน ฟังก์ชันหลายตัวแปร อนุพันธ์ย่อย อนุพันธ์รวบยอด สมการเชิงอนุพันธ์
             สามัญอันดับ และระดับขั้นต่าง ๆ อินทิกรัลหลายชั้น ลำดับ อนุกรม เมทริกซ์ และดีเทอร์มินันต์ การวิเคราะห์เวกเตอร์ เกรเดียนต์ เคิร์ลและไดเวอร์เจนต์
             ผลการแปลงลาปลาซ ผลการแปลง Z อนุกรมฟูเรียร์ อินทิกริลฟูเรียร์ ผลการแปลง ฟูเรียร์ สมการเชิงอนุพันธ์ย่อย อันดับและระดับขั้นต่าง ๆ ปัญหาค่าขอบ
             เขต การวิเคราะห์เชิงซ้อน ฟังก์ชันของตัวแปรเชิงซ้อน ระเบียบวิธีเชิงตัวเลข ผลต่างสืบเนื่อง ตัวอย่างการประยุกต์ทางวิศวกรรม

5643102 คณิตศาสตร์สำหรับวิศวกรรมไฟฟ้า                                                                                                                                            3(3-0)
             Electrical Engineering Mathematics
               
ฟังก์ชันไฮเพอร์โบลิก และอินเวอร์สของมัน ฟังก์ชันหลายตัวแปร อนุพันธ์ย่อย อนุพันธ์รวบยอด สมการเชิงอนุพันธ์สามัญอันดับ และระดับขั้นต่าง ๆ
             ลำดับ อนุกรม ผลเฉลยโดยระเบียบวิธีไลบ์นิตซ์-แมกลอริน โฟรเบนิอุส สมการของเบสเซล ฟังก์ชันของเบสเซล สมการของเลอจองด์และพหุนามเลอจองด์
             สมการผลต่างสืบเนื่อง พีชคณิตเชิงเส้นและเมทริกซ์ การวิเคราะห์เวกเตอร์ เกรเดียนต์ เคิร์ลและไดเวอร์เจนต์ ผลการแปลงลาปาซ ผลการแปลง Z
             อนุกรมฟูเรียร์ อินทิกรัลฟูเรียร์ ผลการแปลงฟูเรียร์ สมการเชิงอนุพันธ์ย่อยอันดับและระดับขั้นต่าง ๆ ปัญหาค่าขอบเขต การวิเคราะห์เชิงซ้อน ฟังก์ชันของ
             ตัวแปรเชิงซ้อน ระเบียบวิธีเชิงตัวเลข การแก้สมการผลต่างสืบเนื่อง ตัวอย่าง การประยุกต์ทางวิศวกรรมไฟฟ้า

5643103 วัสดุวิศวกรรม                                                                                                                                                                            3(3-0)
             Engineering Materials
              
ศึกษาโลหะที่สำคัญ ๆ การทดสอบคุณสมบัติเชิงกล โครงสร้างแบบจุลภาคที่สัมพันธ์กับคุณสมบัติเชิงกล ไดอะแกรมการเปลี่ยนแปลงของเหล็กที่มีคาร์
             บอนผสม การปรับปรุงคุณภาพในด้านความแข็งแบบต่าง ๆ รวมถึงโครงสร้าง ช่วงของการเปลี่ยนแปลง และการใช้ ที.ที.ที. ไดอะแกรมในการชุบแข็งของ
             เหล็กและเหล็กผสมชนิดต่าง ๆ การชุบแข็ง และอบผงคาร์บอน การเพิ่มผิวแข็งในการแทรกซึมของไนโตรเจน การอบอ่อน การเปลี่ยนแปลงของโครงสร้าง
             ในอุณหภูมิต่าง ๆ กัน โครงสร้างแบบจุลภาคของอัลลอย การกัดกร่อน และการป้องกันโดยวิธีต่าง ๆ ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643104 กระบวนการผลิต                                                                                                                                                                        3(3-0)
             Manufacturing Process
                    
ศึกษาระบบการผลิตและระบบเศรษฐศาสตร์ ธรรมชาติและสมบัติของวัตถุ การผลิตโลหะประเภทเหล็ก (Ferrous Metals) และโลหะนอกกลุ่มเหล็ก
             (Nonferrous Metals) กระบวนการหล่อแบบต่าง ๆ กรรมวิธีทางความร้อน (Heat Treatment) การเชื่อม การบัดกรีแข็งและการประสานด้วยกาว
             (Welding Brazing and Adhesive Bonding) ศาสตร์เกี่ยวกับโลหะ (Powder Metallurgy) ศึกษาวัสดุประเภทพลาสติกและ กระบวนการต่าง
             ๆ ฝึกปฏิบัติการทางงานร้อนของโลหะ (Hot Working of Metal) และงานเย็นของโลหะ (Cold Working of Metal) งานกดและเครื่องมือ องค์ประ
             กอบของเครื่องมือกลและโครงสร้างของเครื่องจักร เช่น เครื่องเจียระไน เครื่องกลึง เครื่องเจาะ เครื่องคว้าน เครื่องกัด ฯลฯ การควบคุมเชิงตัวเลข
             (Numerical Control) ระบบการแปรรูป การตัดโลหะ การไส ชนิดของเกลียวและเฟือง กระบวนการพิเศษ และการตกแต่งโดยใช้อิเล็กทรอนิกส์
             (Special Processes and Electronic Fabrication) การจัดการการผลิต การวางแผนการดำเนินงานและการประมาณราคา

5643105 วัสดุศาสตร์วิศวกรรมโยธา                                                                                                                                                        3(3-0)
             Materials Science for Engineers
              
ศึกษาเกี่ยวกับการแบ่งกลุ่ม และที่มาของวัสดุ คุณสมบัติทางกลและทางอื่น ๆ ของวัสดุ การใช้งานของวัสดุเทคนิคในการปรับปรุงสมบัติของวัสดุที่เป็น
             อโลหะ เช่น ไม้อัด ไม้ไผ่ ทราย ปูนซีเมนต์ ดิน หิน ทราย หนังพลาสติก ยาง เป็นต้น เทคนิคในการปรับปรุงสมบัติของวัสดุที่เป็นโลหะ เช่น กรรมวิธีทาง
             ความร้อนของการทำเหล็กกล้า โลหะกลุ่มเหล็ก เหล็กกล้าไร้สนิม เหล็กกล้าทำเครื่องมือ อะลูมิเนียม แมกนีเซียม ทองแดง สังกะสี ทองเหลือง ตะกั่ว ดีบุก
             นิเกิล พลวง วัสดุแข็งใช้ทำมีด การวัดความแข็งของวัสดุ ความหยาบของผิว การเกิดสนิม การกัดกร่อน โครงสร้างมาตรฐานวัสดุ และการพิจารณาเลือกใช้
             วัสดุอย่างเหมาะสม

5643106 วัสดุวิศวกรรมไฟฟ้า                                                                                                                                                                3(3-0)
             Electrical Engineering Materials
              
โครงสร้างของของแข็ง การหาลักษณะโครงสร้างของวัสดุ การเตรียมวัสดุคุณสมบัติเชิงกล คุณสมบัติทางไฟฟ้า ทางความร้อน ทางแม่เหล็ก ทางแสง
             และ ความนำไฟฟ้ายวดยิ่งของวัสดุ ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643107 โลหการเชิงวิศวกรรม                                                                                                                                                             3(3-0)
             Engineering Metallurgy
               
ศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของโลหะชนิดต่าง ๆ ที่ใช้ในทางอุตสาหกรรม และเทคนิคในการผสมโลหะ การถลุงเหล็ก เหล็กหล่อ เหล็ก
             อ่อน เหล็กกล้า เหล็กกล้าผสม การแปรรูป การกำหนดมาตรฐานเหล็กตามระบบ SAEDIN การชุบแข็ง การเคลือบ และการทดสอบความคงทนในการใช้
             งาน การถลุงโลหะที่ไม่ใช่เหล็ก เช่น ทองแดง สังกะสี ดีบุก ตะกั่ว อะลูมิเนียม แมกนีเซียม คุณสมบัติและการใช้งานในรูปโลหะผสม อุปกรณ์ในการหลอม
             การหล่อ วิธีใช้ และการบำรุงรักษาให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643108 โลหการทางกายภาพ                                                                                                                                                                3(3-0)
             Physical Metallurgy

               โครงสร้างของโลหะ การวิเคราะห์ผลึกแข็งด้วยรังสีเอกซ์ ข้อบกพร่อง ของผลึก การแพร่ อัลลอยด์ การวัดอุณหภูมิ และการรักษาความร้อนของโลหะ
             และอัลลอยด์ หลักการเปลี่ยนแปลงเฟสของโซลิตสเตท ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างแบบจุลภาค และคุณสมบัติทางกลของโลหะและอัลลอยด์ การวัด
             ความแข็งของโลหะ โครงสร้าง และคุณสมบัติของเหล็กชุบคาร์บอน เหล็กชุบอัลลอยด์ ทองแดงชุบอัลลอยด์ อะลูมิเนียมชุบ อัลลอยด์และการหาอายุการใช้
             งาน

5643109 การบำรุงรักษาทางวิศวกรรม                                                                                                                                                 3(3-0)
             Maintenance Engineering
               
ภาพรวมของการบำรุงรักษา การตั้งหน่วยงานฝ่ายบำรุงรักษา และการควบคุม การจัดการด้านวัสดุและการสำรองวัสดุ ความเชื่อมั่นและความไม่ยอมรับ
             ทางสถิติ การประยุกต์ทฤษฎีการรอคอย เพื่อใช้แก้ปัญหาในการบำรุงรักษา การกำหนดเส้นทางวิกฤต การวางแผนในการปฏิบัติการ การวัดและการ
             ประเมินผลในการจัดการ การบำรุงรักษา ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643110 วัสดุการทางและวัสดุก่อสร้าง                                                                                                                                                 3(2-2)
             Highway and Construction Materials
               
ลักษณะและคุณสมบัติของมวลรวม มาตรฐานเฉพาะและวิธีการทดสอบ การออกแบบวัตถุดิบ ความมั่นคงและเสถียรภาพที่พึงประสงค์ ทางวิศวกรรม
             การทาง กระบวนการผลิตและคุณสมบัติการใช้งาน และวิธีเก็บรักษาวัสดุก่อสร้าง เช่น ไม้ ปูนซีเมนต์ ปูนขาว หิน อิฐ ทราย สี วัสดุมุงหลังคา ปูพื้น และ
             บุผนัง คุณสมบัติทาง เคมี ฟิสิกส์ และความทนทานของวัสดุที่นำมาใช้ประกอบกับงานไม้และงานก่อสร้าง ประเภทต่าง ๆ ได้แก่ ไม้ ผลิตภัณฑ์จากไม้ เหล็ก
             อลูมิเนียม กระจก กาว วัสดุ เคลือบผิว พลาสติก เครื่องสุขภัณฑ์ คอนกรีต คอนกรีตอัดแรงและผลิตภัณฑ์จากซีเมนต์ วัสดุฝ้า วัสดุผนัง ให้ปฏิบัติการตาม
             ความเหมาะสม

5643111 การเขียนแบบก่อสร้าง                                                                                                                                                             2(1-2)
             Construction Drawing
              
ศึกษารายละเอียดทางสถาปัตยกรรมและวิศวกรรมของอาคารไม้ และคอนกรีตเสริมเหล็ก พร้อมรายการประกอบแบบก่อสร้างและหุ่นจำลอง โดยคำนึง
             ถึงความสะดวกสบาย ความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม ถูกต้องตามเทศบัญญัติ ระบบการประปาสุขาภิบาล ท่ออากาศ อุปกรณ์อาคาร ระบบไฟฟ้า การเขียนแบบ
             แสดงรายละเอียดโครงสร้างเพื่อขอใบอนุญาตปลูกสร้าง และเพื่อเสนอผลงานต่อเจ้าของงานหรือสาธารณชน

5643112 การเขียนแบบเครื่องจักรกล                                                                                                                                                    2(1-2)
             Mechanical Drawing
               
ศึกษาการอ่านแบบ การเขียนแบบภาพฉาย และการแสดงภาพตัดของ ชิ้นส่วนของเครื่องกล การเขียนแบบภาพคลี่ การเขียนแบบขั้นใช้งาน การ
             ออกแบบชิ้นส่วนมาตรฐาน การกำหนดผิวงาน พิกัดความเผื่อ และการเขียนแบบแยกชิ้นส่วนแบบประกอบ และการทำรายการประกอบแบบ การใช้
             คอมพิวเตอร์มาช่วยในการออกแบบเขียนแบบ ให้ปฏิบัติการตามความเหมาะสม

5643113 การออกแบบโรงงานอุตสาหกรรม                                                                                                                                          3(3-0)
             Industrial Plant Design
               
ความหมายของโรงงาน การออกแบบและการวางผังโรงงาน ภาพรวม ขั้นตอน การออกแบบโรงงาน การวิเคราะห์และเปรียบเทียบทำเล ที่ตั้ง ขนาด
             ของผังและต้นทุน การวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์และกระบวนการ แบบของผังโรงงาน ผังโรงงานแบบผลิตภัณฑ์ ผังโรงงานแบบกระบวนการผลิต คลังสินค้าและ
             การเก็บรักษาของสถานีทำงาน และการบริการในโรงงาน การขนถ่ายวัสดุ ทำเลที่ตั้ง โรงงาน การจัดระบบของโรงงาน เช่น แสง สี เสียง การจัดวางอุปกรณ์
             และเครื่องมือสำคัญในการลำเลียงวัสดุภายในโรงงาน เส้นทางที่ดีที่สุดในการเคลื่อนย้ายวัสดุ การใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบโรงงาน ทั้งนี้ ให้มีการ
             สาธิตและการคำนวณตามความเหมาะสม

5643114 เทคโนโลยีคมนาคม                                                                                                                                                                 2(1-2)
             Technology Telecommunications
                
การสื่อสารแบบต่าง ๆ หลักการทำงานของวิทยุ โทรทัศน์ โทรศัพท์ ไมโครเวฟ เรดาร์ ดาวเทียม และอุปกรณ์สำคัญ

5643201 กลศาสตร์ของเครื่องจักรกล                                                                                                                                                   3(3-0)
             Mechanics of Machinery
               
ทฤษฎีของเครื่องจักรกลเบื้องต้น การทำงานของกลไกของเครื่องจักรกล เครื่องต่อลูกเบี้ยว สเปอร์เกียร์ ชิ้นต่อโยงที่ยืดหดได้ ขบวนเฟือง ระบบ
             จลนศาสตร์ และจลนพลศาสตร์ของเครื่องจักรกล การกระจัด ความเร็ว และความเร่ง ในเครื่องจักรกล การนำวิธีวิเคราะห์แรงไปประยุกต์ใช้ สมดุลของ
             มวลที่เคลื่อนที่และหมุนผลของไจโร

5643301 สนามและคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า                                                                                                                                                3(3-0)
             Electromagnetic Fields and Waves
               
การวิเคราะห์เวกเตอร์ สนามไฟฟ้าสถิต สนามแม่เหล็กสถิต แรงแม่เหล็ก สนามแม่เหล็กแปรตามเวลา ความเหนี่ยวนำ การเหนี่ยวนำทางแม่เหล็ก การ
             แกว่งทางแม่เหล็กไฟฟ้า กระแสการกระจัด กระแสการพาและการนำสนามแม่เหล็ก เนื่องจากกระแสแรงบิดที่กระทำต่อบ่วงกระแสในสนามแม่เหล็ก
             สมการของแมกซ์เวลล์ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในตัวกลางชนิดไอโซทอนิกและไอโซทรอปิก ในตัวกลางที่เป็นตัวนำฉนวน ไดอิเล็กทริก ความจุไฟฟ้า การวัด
             ขั้วคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ปรากฏการณ์ของคลื่นระนาบเอกรูป สมการคลื่น การแพร่กระจายของคลื่น การสะท้อน การหักเห และการเบี่ยงเบนของคลื่น
             แม่เหล็กไฟฟ้า สายส่ง สายอากาศ คลื่นนำแสง ท่อนำคลื่น ท่อสั่นพ้อง สมการลาปลาซ สมการของปัวส์ซอง และเวกเตอร์พอยน์ติงกับการไหลของพลังงาน
             ไฟฟ้า ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643302 แม่เหล็กไฟฟ้าวิศวกรรม                                                                                                                                                         3(3-0)
             Engineering Electromagnetics
               
การวิเคราะห์เวกเตอร์ กฎของเกาส์ ไดเวอร์เจนต์ พลังงานสนามแม่เหล็กเนื่องจากกระแสไฟฟ้า กฎของบิโอต์-ซาวาร์ต หรือกฎของแอมแปร์ลาปลาซ
             สนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา สมการแมกซ์เวลล์ สมการของ ปัวส์ซอง และสมการของลาปลาซ การแพร่กระจายของคลื่น คลื่นระนาบในตัว
             กลางไดอิเล็กทริก ตัวนำและคลื่นระนาบในตัวนำ โพลาไรเซชันของคลื่น การสะท้อน การหักเห การเบี่ยงเบนของคลื่น เวกเตอร์ พอยน์ติงในการไหลของ
             พลังงานและท่อนำคลื่น ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643303 กลศาสตร์                                                                                                                                                                                 3(3-0)
             Mechanics
               
การเคลื่อนที่ในตัวกลางต่าง ๆ การเคลี่อนที่แบบฮาร์มอนิก (Harmonic Oscillation) แรงศูนย์กลาง พลวัตของระบอบอนุภาค กลศาสตร์ของของ
             ไหล การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งเกร็ง (Rigid Bodies) พลวัตของไจโรสโคป แรงดึงดูดระหว่างมวลสนามโน้มถ่วง อนุภาคพลังงานสูง กลศาสตร์แบบลาก
             รานจ์

5643304 อุณหพลศาสตร์                                                                                                                                                                      3(3-0)
             Thermodynamics
               
นิยาม มโนทัศน์ และคุณสมบัติทางอุณหพลวัต คุณสมบัติของสารบริสุทธิ์ ก๊าซอุดมคติและก๊าซจริง อุณหภูมิกับการวัด งาน พลังงาน ความร้อน
             พลังงานกับการถ่ายเทพลังงาน ลักษณะแบบมหภาค และแบบจุลภาคทางอุณหพลศาสตร์ สมดุลทางความร้อน คุณสมบัติของสารทำงานบริสุทธิ์ กฎข้อที่
             ศูนย์ของอุณหพลศาสตร์ กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์ สำหรับปริมาตรควบคุมเอนทาลปี เอนโทรปี และกระบวนการสำหรับก๊าซอุดมคติ กฎข้อที่สอง
             ของอุณหพลศาสตร์ สำหรับปริมาตรควบคุมวัฏจักร ทางอุณหพลศาสตร์ ฏจักรกำลัง วัฏจักรทำความเย็น กฎข้อที่สามของอุณหพลศาสตร์ การถ่ายเทความ
             ร้อนกระบวนการย้อนกลับได้ และย้อนกลับไม่ได้ ภาวะใช้ประโยชน์ได้ ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643305 เครื่องจักกลไฟฟ้า                                                                                                                                                                 3(3-0)
             Electrical Machines
                
หลักการของหม้อแปลงไฟฟ้า วงจรแม่เหล็กต่อเนื่อง การแปรรูปพลังงานไฟฟ้า เฟสเซอร์ไดอะแกรมและวงจรสมมูลของหม้อแปลง หม้อแปลงแบบ
             อัตโนมัติ หลักการของเครื่องจักรกลไฟฟ้ากระแสตรงและเครื่องจักรกลสนาม แม่เหล็กตัดฉาก การกำเนิดแรงคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า การต่อหม้อแปลงไฟฟ้า
             ชนิดขดลวดสามเฟส เครื่องจักรกล ซิงโครนัสสามเฟส เครื่องจักรกลเหนี่ยวนำสามเฟส คุณสมบัติของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า และมอเตอร์แบบต่าง ๆ หลักการ
             ของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ การควบคุมแรงเคลื่อนไฟฟ้า การทำงานของซิงโครนัสมอเตอร์ หลักการทำงานของมอเตอร์ชนิด เหนี่ยวนำแบบ เฟส
             เดียว และสามเฟส คุณสมบัติของมอเตอร์เหนี่ยวนำแบบต่าง ๆ วิธีการเริ่มเดินเครื่อง และการนำมาใช้งาน

5643306 เครื่องเป่า เครื่องสูบ และเครื่องอัดของไหล                                                                                                                           3(3-0)
             Fans, Pumps and Compressors
                
ศึกษาหลักการของเครื่องเป่าอากาศ การทำงาน การคำนวณเพื่อการ ออกแบบ และการวัด การทำงานของเครื่องสูบลมและน้ำแบบต่าง ๆ การติดตั้ง
             เครื่องสูบน้ำ การคำนวณหัวสูบน้ำแบบต่าง ๆ หัวความเร็ว หัวส่ง หัวไดนามิกส์ กำลังของเครื่องสูบ ความเสียดทานของท่อ หัวต่อ เครื่องอัดลมแบบต่าง ๆ
             ท่อลม ถังเก็บ ระบบควบคุมการใช้และการบำรุงรักษา ให้ปฏิบัติการตามความเหมาะสม

5643401 ฟิสิกส์แผนใหม่                                                                                                                                                                        3(3-0)
             Modern Physics
             
ทฤษฎีสัมพันธภาพพิเศษ การแผ่รังสีของวัตถุดำ คุณสมบัติคู่ของคลื่น และอนุภาค หลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์ก ทฤษฎีอะตอม สเปกตรัมของ
             อะตอม รังสีเอกซ์ เลเซอร์ รังสีคอสมิก กลศาสตร์ควอนตัมเบื้องต้น อะตอม โมเลกุลของของแข็ง กลศาสตร์เชิงสถิติ กัมมันตภาพรังสี และอนุภาคมูลฐาน ตัว
             นำและสภาพนำยวดยิ่ง ฟิสิกส์ของอนุภาคและจักรวาลวิทยา ควาร์ค แผนไขว้แปดเท่า (Eight-Fold Way) ดาวแคระ ดาวนิวตรอน แหล่งพลังงานในดาว
             และแหล่งพลังงานในอนาคต

5643402 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 1                                                                                                                                                                   3(3-0)
             Nuclear Physics 1
              
นิวเคลียสของอะตอม แรงยึดเกาะและเสถียรภาพของนิวเคลียส ทฤษฎีการสลายตัวให้รังสีแอลฟา รังสีบีตา และรังสีแกมมาของนิวเคลียส กฎการสลาย
             ตัวของสาร กัมมันตรังสี สมดุลของการสลายตัว สารกัมมันตรังสีทั้งที่มีในธรรมชาติ และการ ประดิษฐ์ขึ้น ตารางนิวไคลด์และแผนผังการสลายตัวของ
             นิวเคลียส ปฏิกิริยานิวเคลียร์ พลังงานนิวเคลียร์ เครื่องปฏิกรณ์ปรมาณู เครื่องวัดรังสี ประโยชน์ โทษ และการป้องกันอันตรายจากรังสี

5643403 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 2                                                                                                                                                                    3(3-0)
             Nuclear Physics 2
              
นิวเคลียร์ฟิสิกส์เบื้องต้น โปรตอน สภาพการสลายตัวในกระบวนการ รังสีแอลฟา รังสีบีตา และรังสีแกมมานพลังงานที่ได้จากการสลายตัวของ
             นิวเคลียส กระบวนการเกิดปฏิกิริยา และแรงนิวเคลียร์ (Nuclear Reaction and Nuclear Force) ปฏิกิริยาแยกสลาย (Fission) เครื่องเร่งอนุภาค
             อันตรกิริยานิวคลีออน-นิวคลีออน (Nucleon-nucleon interraction) Nuclear Spin and Magnetism แรงนิวเคลียร์ แบบจำลองนิวเคลียส รังสี
             คอสมิก และ Sub-nuclear Particles ฟิสิกส์พลังงานสูงเบื้องต้น (Introduction to High Energy Physics)

5643404 ฟิสิกส์นิวเคลียร์                                                                                                                                                                         3(3-0)
             Nuclear Physics
              
นิวเคลียสของอะตอม แรงยึดเกาะและเสถียรภาพของนิวเคลียส ทฤษฎีการสลายตัวในรังสีแอลฟา รังสีบีตา และรังสีแกมมาของนิวเคลียส กฎการสลาย
             ตัวของสารกัมมันตรังสี สมดุลของการสลายตัว สารกัมมันตรังสีทั้งที่มีในธรรมชาติ และการประดิษฐ์ขึ้น ตารางนิวไคลด์และแผนผังการสลายตัวของ
             นิวเคลียส ปฏิกิริยานิวเคลียร์ พลังงานนิวเคลียร์ เครื่องปฏิกรณ์ปรมาณู เครื่องวัดรังสี ประโยชน์โทษ และการป้องกันอันตรายจากรังสี สภาพการสลายตัว
             ในกระบวนการ ชั้นพลังงานที่ได้จากการสลายตัวของนิวเคลียส กระบวนการเกิดปฏิกิริยา และแรงนิวเคลียร์ (Nuclear Reaction and Nuclear Force)
             ปฏิกิริยาแยกสลาย (fission) เครื่องเร่งอนุภาค อันตรกิริยานิวคลีออน- นิวคลีออน (Nucleon-nucleon Interaction) Nuclear Spin and
             Magnetism แรงนิวเคลียร์แบบจำลองนิวเคลียส รังสีคอสมิก และ Sub-nuclear Particles ฟิสิกส์พลังงานสูงเบื้องต้น (Introduction to High
             Energy Physics)

5643405 กลศาสตร์ควอนตัม                                                                                                                                                                    3(3-0)
             Quantum Mechanics
               
มโนทัศน์เกี่ยวกับวิทยาการพื้นฐานของกลศาสตร์ควอนตัม สมการคลื่นของ Schrodinger ฟังก์ชัน Probability Density Harmonic และ
             ระดับพลังงาน การประยุกต์ใช้ สมการคลื่นกับอะตอมของไฮโดรเจนสเปกตรัมของไฮโดรเจน (Quantization of Angular Momentum Zeeman
             Effect Spin Orbit Interaction อะตอมที่มีหลายอิเล็กตรอน (Atom with Many Electron) หลักแห่งความไม่แน่นอน Complementarity
             Wave Packets Operators เลขควอนตัม สมการ Schrodinger ที่ขึ้นกับเวลา การเคลื่อนที่ของอนุภาคใน มิติเดียวและสามมิติ โมเมนตัมเชิงมุมและ
             สปิน วิธีการประมาณ (Approximation methods) ทฤษฎีเพอร์เทอร์เบชันที่ไม่ขึ้นกับเวลาและหลักการเปลี่ยนแปลงการแผ่กระจายระบบที่มีหลาย
             อนุภาค ปัญหา จินตนาการของกลศาสตร์ควอนตัม สมการคลื่นในเชิงสัมพันธภาพ (Relativity Wave Equation) และปัญหาของการกระเจิง
             (Scattering Problems)

5643406 ระบบอัตโนมัติ                                                                                                                                                                           3(3-0)
             Automation Systems

               ศึกษาเครื่องมือทางนิวแมติกส์ชนิดต่าง ๆ การผลิตขั้นพื้นฐาน และระบบอัตโนมัติ ระบบการผลิตปริมาณมาก ออโตเมตโฟลว์ไลน์ ระบบการประกอบ
             ผลิตภัณฑ์และการทำไลน์บาลานซิ่ง แบบอัตโนมัติ ระบบการผลิตที่ควบคุมด้วยตัวเลข เอ็นซีพาร์ทโปรแกรมมิ่ง โปรแกรมหุ่นยนต์ การขนถ่ายวัสดุและการ
             เก็บ กรู๊ฟเทคโนโลยี การตรวจสอบ และควบคุมคุณภาพแบบอัตโนมัติ ระบบการ วางแผนการผลิตที่ควบคุมโดยคอมพิวเตอร์ หลักการของแคด/แคม ให้มี
             การสาธิตตามความเหมาะสม

5643407 เทคโนโลยีระบบไฟฟ้ากำลัง                                                                                                                                                      3(3-0)
             Electrical Power System Technology

               แหล่งกำเนิดพลังงานไฟฟ้า โครงสร้างของระบบไฟฟ้ากำลัง ข้อกำหนด พื้นฐานระบบเปอร์ยูนิต ลักษณะของโหลด ระบบสายส่ง อิมพีแดนซ์ ความ
             สัมพันธ์ระหว่างแรงดันและกระแส การปรับแรงดัน การสูญเสียในโครงข่ายการสร้างสายส่งและสายส่งจ่ายอุปกรณ์ของระบบหม้อแปลงไฟฟ้ากำลัง
             มาตรฐานของอุปกรณ์และความปลอดภัย การวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลัง สมการของระบบ การไหลผ่านโหลด การปฏิบัติการระบบไฟฟ้ากำลังด้วยความ
             ประหยัด ส่วนประกอบสมมาตร การลัดวงจรแบบสมมาตรและแบบไม่สมมาตร เสถียรภาพของระบบไฟฟ้ากำลังอย่างง่าย อุปกรณ์ป้องกันระบบการ
             วิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลังด้วยคอมพิวเตอร์

5643408 อิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรม                                                                                                                                                            3(3-0)
             Engineering Electronics
              
ศึกษาระบบอนาลอกและวงจรเชิงเส้น วงจรออปแอมป์ เทคนิคการนำออปแอมป์ไปใช้ในงานอุตสาหกรรม การแปลงสัญญาณอนาลอกเป็นดิจิตอล และ
             ดิจิตอลเป็นอนาลอก การเปลี่ยนกระแสเป็นแรงดัน การเปลี่ยนความถี่เป็นแรงดันและแรงดันเป็นความถี่ วงจรรวม วงจรดิจิตอล โวลต์มิเตอร์และการ
             เทียบปรับ สเกลวัดอุปกรณ์โซลิตสเตท ทรานสดิวเซอร์ในทางอุตสาหกรรม อุปกรณ์ตรวจจับแสง อุณหภูมิ แรงดัน ความถี่ วงจรหน่วงเวลา วงจรเรคติ
             ไฟเออร์หลายเฟส ชนิดโซลิตสเตท การประยุกต์ใช้ไทริสเตอร์ แมกเนติกส์แอมปลิไฟเออร์ การขยายกำลัง การออกแบบแหล่งจ่ายกระแส และแหล่งจ่าย
             แรงดัน หลักการทางเทคนิคในงานวางแผนแบบ และออกแบบ กลไกทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อใช้ในงานอุตสาหกรรมและงานต่าง ๆ เช่น ควบคุมอุณหภูมิ
             ควบคุมแสงสว่าง ควบคุมสวิตซ์อัตโนมัติ การควบคุมแบบซีเควนเชียลและเชิงตัวเลข อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุต่าง ๆ ที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม การเชื่อม
             โยงอุปกรณ์รอบนอกกับไมโครโปรเซสเซอร์หรือไมโครคอมพิวเตอร์ ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643409 ระบบควบคุมทางวิศวกรรม                                                                                                                                                      3(2-2)
             Engineering Control Systems

               เมตริกซ์เวกเตอร์ ผลการแปลงลาปลาซ ค่าไอเกนระบบไดนามิกส์แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ การวิเคราะห์สถานะ เวลาต่อเนื่องและไม่ต่อเนื่อง ความ
             สามารถควบคุมและสังเกตได้ทั้งระบบเชิงเส้นและไม่เชิงเส้น ทฤษฎีรบกวน (Perturbation Theory) และเสถียรภาพของระบบควบคุมผังสัญญาณและ
             กราฟสัญญาณ คุณสมบัติของกระบวนการ การออกกแบบเชิงเส้นของระบบควบคุมแบบป้อนกลับ การเลือกและการปรับเครื่องควบคุม เส้นทางรากของ
             ระบบควบคุม การวิเคราะห์ผลการตอบสนองความถี่ การแก้ไขระบบควบคุม การควบคุมกระบวนการ และกระบวนการตอบสนอง ย้อนกลับ ระบบควบคุม
             แบบหลายวงจร การควบคุมแบบป้อนล่วงหน้า การควบคุมสัดส่วนการไหล การควบคุมแบบปรับได้ การควบคุมกระบวนการชนิดหลายตัวแปรเข้า และ
             หลายตัวแปรออก การควบคุมแบบแยกปฏิกิริยาภายใน หลักการควบคุมที่เหมาะสม

5643410 เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์กำลัง                                                                                                                                                   3(3-0)
             Power Electronics Technology
                  
คุณสมบัติของสวิตชิ่งไดโอดกำลัง BJT. VMOS, SCR ทรานซิสเตอร์  ไทรีสเตอร์ ฯลฯ วิเคราะห์วงจรไดโอดด้วยรีแอคตีฟโหลด วิเคราะห์วงจรที่
             ใช้เป็นดีซี การเปลี่ยนดีซีเป็นเอซี การเปลี่ยนเอซีเป็นดีซี การทำงานของ เอสซีอาร์ไทรแอค ทรานสดิวเซอร์ สเตรนเกจ อุปกรณ์โฟโต้อิเล็กทริก การใช้
             งานทางอุตสาหกรรมของ อุปกรณ์แอคตีฟไทรีสเตอร์ ทรานซิสเตอร์กำลัง บทบาทของอิเล็กทรอนิกส์เกี่ยวกับการนำไปใช้ เพื่อป้องกันการทำงานผิดพลาด
             ของระบบไฟฟ้า วงจรรีเลย์ คุณสมบัติและการวิเคราะห์หาคุณสมบัติของวัสดุอุปกรณ์การขยาย การขยายในย่านและแบบต่าง ๆ คอนเวิร์ตเตอร์บางชนิด
             และการนำไปใช้งาน ตัวอย่างวงจรไฟฟ้ากำลังสูงที่ใช้อิเล็กทรอนิกส์ ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643411 ทฤษฎีสวิตชิ่ง                                                                                                                                                                              3(3-0)
             Switching Theory

               ศึกษารูปคลื่นชนิดต่าง ๆ และรูปคลื่นสี่เหลี่ยม RC อินทิเกรเตอร์ RC ดิฟเฟอเรนซิเอเตอร์ วงจรตัดคลื่น และวงจรปรับระดับคลื่น อิเล็กทรอนิกส์สวิตช์
             วงจรกลับสัญญาณ มัลติไวเบรเตอร์ ทริกเกอร์ ชมิตทริกเกอร์ อิเล็กทรอนิกส์ลอจิก และแซมปลิงเกต ทั้งนี้ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643412 ยูนิตโอเปอเรชั่น                                                                                                                                                                        3(3-0)
             Unit Operations
                
ศึกษาเกี่ยวกับหน่วย มิติ ของของไหล ของไหลสถิต และการประยุกต์ การไหลตามรางหรือท่อ ความเสียดทาน การวัดอัตราการไหล แรงลากอนุภาค
             ทางกล หลักการแยกสารโดยการตกตะกอน การออกแบบอุปกรณ์การแยก การแยกโดยแรงโน้มถ่วง แรงหนีศูนย์กลาง การทำให้เป็นของไหลจากแก๊ส
             การกรอง การลดขนาดของแข็งโดยการใช้ลม โดยการถ่ายเทความร้อน โดยเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน โดยการถ่ายเทมวล โดยการผลิตไอน้ำ
             การละลายการระเหย การกลั่น การตกผลึก ริเวิร์สออสโมซิส อัตราพิล-เตรชัน การดูดซึม การดูดซับ การอบแห้ง การสกัด หรือหลายวิธีรวมกัน การผสม
             และการกวน

5643413 ระบบไฮดรอลิกส์และนิวแมติกส์                                                                                                                                               3(3-0)
             Hydraulics and Pneumatics Systems
               
ระบบไฮดรอลิก หลักการพื้นฐานของระบบไฮดรอลิก ชุดต้นกำลังไฮดรอลิก ท่อน้ำมันไฮดรอลิกและข้อต่อถังพัก การซีลในระบบไฮดรอลิก ปั๊ม ไฮดรอลิก
             การปรับค่าแรงบิดหรือแรงดันของอุปกรณ์ทำงาน การควบคุมทิศทาง และความเร็วของอุปกรณ์ ทำงาน การออกแบบวงจรและการกำหนดขนาดของอุปกรณ์
             วาล์วควบคุมระบบไฮดรอลิก ระบบไฮดรอลิกแบบผสม วงจรไฮดรอลิกในงานอุตสาหกรรม น้ำมัน ไฮดรอลิกและการบำรุงรักษาตามความเหมาะสม ความรู้
             เบื้องต้นของระบบนิวแมติก เครื่องอัดลม การทำความสะอาด ลมอัด การจ่ายลมอัดและการเลือกจนาดต่ออุปกรณ์ ทำงานของระบบนิวแมติกวาล์วและ
             สัญลักษณ์ หลักการเขียนและออกแบบวงจรนิวแมติก วงจรนิวแมติกแยก สัญญาณควบคุม วงจรนิวแมติกควบคุมการทำงานด้วย ลอจิก การควบคุมการ
             ทำงานของระบบนิวแมติกด้วยไฟฟ้า อุปกรณ์อื่น ๆ ในระบบนิวแมติก การบำรุงรักษาระบบนิวแมติก ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643414 ระบบควบคุมด้วยนิวแมติกส์                                                                                                                                                     3(3-0)
             Pneumatics Control System

                ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวแมติก เครื่องอัดลม การทำความสะอาด ลมอัด การจ่ายลมอัดและการเลือกขนาดต่ออุปกรณ์ทำงานของระบบนิวแมติก
             วาล์ว และสัญลักษณ์ หลักการเขียนและออกแบบวงจรนิวแมติก วงจรนิวแมติกแยกสัญญาณควบคุม วงจรนิวแมติกควบคุมการทำงานด้วยลอจิก
             การควบคุมการทำงานของระบบนิวแมติกด้วยไฟฟ้า อุปกรณ์อื่น ๆ ในระบบนิวแมติก การบำรุงรักษาระบบนิวแมติก ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643501 ทฤษฎีกลศาสตร์ของไหล                                                                                                                                                          3(3-0)
             Fluid Mechanics Theory

                คำนิยามและแนวคิดพื้นฐาน สถิตศาสตร์ของไหล ความหนาแน่นสัมพัทธ์ หลักอาร์คีมีดีส ความดันที่ระดับต่าง ๆ หลักของปาสคาล คณิตศาสตร์
             สำหรับของไหล สมการพื้นฐานสำหรับการวิเคราะห์เชิงปริมาตรควบคุม การวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของของไหลเชิงอนุพันธ์ ความดันของสายกระแส การ
             ไหลของของไหลในอุดมคติ สมการลอยเลอร์ สมการเบอร์นูลลี กฎของพอยซิล กฎของสโต๊กส์ ตัวเลขของเรโนลด์ สนาม แห่งการไหล การวิเคราะห์มิติ และ
             ความคล้ายคลังกัน การไหลของของไหลที่มีความหนืดแบบยุบตัวไม่ได้ใน ช่องทางปิดภายใน การไหลของของไหลในอุดมคติ การไหลรอบนอก การไหลใน
             ช่องทางเปิด และการไหลแบบยุบตัวได้ในสภาวะสม่ำเสมอ ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643502 ทฤษฎีสถิตยศาสตร์วิศวกรรม                                                                                                                                                   3(3-0)
             Engineering Statics Theory
               
หลักพื้นฐานและระบบแรง ในระบบ 2 มิติ และ 3 มิติ การสมดุลของเรง โมเมนต์ สัญลักษณ์ของโครงสร้าง การคำนวณหาแรงในโครงถักโดม
             (Method of Joints, Method of Section และ Graphical Method แรงกระทำเป็นบริเวณ ความเสียดทาน สัมประสิทธิ์ของความเสียดทาน
             โบ้ลท์ สกรูเพลา แบริ่ง สายพาน โครงสร้างที่รับแรงดัด สูตรเกี่ยวกับแรงดัด (Flexural Formula) โครงสร้างที่รับแสงตามแนวแกน แรงดัดร่วมกัน งาน
             เสมือน และโมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่

5643503 ทฤษฎีพลศาสตร์วิศวกรรม                                                                                                                                                       3(3-0)
             Engineering Dynamics Theory

                เวกเตอร์กลศาสตร์ ลนศาสตร์ของอนุภาค จลนพลศาสตร์ของอนุภาค  จลนศาสตร์ของระบบอนุภาค และจลนศาสตร์ของวัตถุเกร็งในระนาบ
             จลนพลศาสตร์ของวัตถุเกร็งในระนาบ

5643504 การถ่ายโอนความร้อนและมวล                                                                                                                                                  3(3-0)
             Heat and Mass Transfer
                
การถ่ายเทความร้อนเบื้องต้น การนำ การพา และการแผ่รังสี สมการที่ใช้เกี่ยวกับการนำความร้อน ในสภาวะสม่ำเสมอและไม่สม่ำเสมอแบบมิติเดียว
             และหลายมิติ สมการพื้นฐานเกี่ยวกับการนำ การพาความร้อน การถ่ายเทความร้อนจากพื้นที่ซึ่งเพิ่มขึ้นหรือครีบ การควบแน่น และการระเหยอุปกรณ์
             แลกเปลี่ยน  ความร้อน การถ่ายเทความร้อนระหว่างที่ของเหลวกำลังเดือด กระบวนการแพร่ในการถ่ายเทมวล สมการอัตรา ส่วนประกอบวัตถุผสม
             ทฤษฎีการถ่ายเทมวล กฎของ Fick เกี่ยวกับการแพร่สัมประสิทธิของการแพร่ของมวล การอนุรักษ์สำหรับปริมาตรควบคุม สมการการแพร่ของมวลเงื่อนไข
             เริ่มต้น และขอบเขต การแพร่มวล โดยปราศจากปฏิกิริยาเคมีเอกพันธุ์ และโดยปฏิกิริยาเคมีเอกพันธุ์ การแพร่แบบไม่สม่ำเสมอ องค์ประกอบการไหล
             แบบเรย์โนลด์ ชมิดนัมเบอร์ และเลวิสนัมเบอร์ การคำนวณการถ่ายเทความร้อนและมวล ด้วยการประยุกต์ไปสู่การระเหย การดูดกลืนและการสันดาป
             โดยพิจารณาพร้อมกันทั้งสองเฟส ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643505 ทฤษฎีวงจรไฟฟ้า                                                                                                                                                                      3(3-0)
             Electrical Circuit Theory

                 ทฤษฎีวงจรไฟฟ้า การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสตรง โครงสร้าง สัญลักษณ์ คุณลักษณะ สมบัติ และผลตอบสนองของ R, L และ C ในวงจรไฟฟ้า
             กระแสตรง ค่าคงตัวเวลา (Time Constant) การวิเคราะห์วงจร แม่เหล็กไฟฟ้า การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ คุณลักษณะ สมบัติ และผลตอบ
             สนองของ RL, LC, RC และหม้อแปลงในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับหลายเฟส สัญญาณ ไฟฟ้าที่ไม่เป็นรูปไซน์ ฮาร์โมนิกฟังก์ชัน และกราฟของสัญญาณ
             ไฟฟ้าพารามิเตอร์ของสัญญาณพัลส์ การแปลงรูปสัญญาณไฟฟ้าแบบลิเนียร์ อินทิเกรเตอร์ และดิฟเฟอร์เรสซิเอเตอร์

5643506 อิเล็กทรอนิกส์ทั่วไป                                                                                                                                                                  3(2-2)
             General Electronics

                ทฤษฎีและการใช้งานเกี่ยวกับตัวนำ ตัวต้านทาน ฉนวน สารกึ่งตัวนำ โครงสร้างสัญลักษณ์แบบและชนิดตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ ตัวเหนี่ยวนำ รีเลย์
             คุณสมบัติทางฟิสิกส์ของสิ่งประดิษฐ์สารกึ่งตัวนำ ไดโอด วงจรกรองกระแส (Rectifier) แบบต่าง ๆ Operating point กราฟลักษณะสมบัติ ค่า
             พารามิเตอร์ และค่าสำคัญ ๆ ที่บอกไว้ในคู่มือของไดโอด และทรานซิสเตอร์ วงจรทรานซิสเตอร์แบบ CB, CE และ CC การไบแอสทรานซิสเตอร์แบบ
             ต่าง ๆ Load Line ไอซีออปแอมป์ การวัดและการทดสอบไอโอด สารกึ่งตัวนำ วงจรกรองกระแสแบบต่าง ๆ โดยใช้ออสซิลโลสโคป และมัลติมิเตอร์ การต่อ
             วงจร การไปแอสวงจรทรานซิสเตอร์ วงจรออปแอมม์ วงจรกำเนิดความถี่ และวงจรเครื่องขยายสัญญาณ หลักการ แผนแบบ และการออกแบบวงจร วงจร
             ขยายสัญญาณขนาดเล็ก (Small Signal Amplifier) งจรขยายกำลังแบบต่าง ๆ วงจรชมิททริกเกอร์ จรมัลติไวเบรเตอร์ ชนิดต่าง ๆ ความถี่ การไบแอส
             เอฟ อี ที โครงสร้างและคุณสมบัติ ยู เจ ที และ พี ยู ที วงจรสื่อสารและการมอดูเลชั่นแบบต่าง ๆ ให้มีการสาธิตและปฏิบัติการตามความเหมาะสม

5643507 ดิจิตอลอิเล็กทรอนิกส์                                                                                                                                                              3(2-2)
             Digital Electronics
                 
วงจรเกทพื้นฐาน พีชคณิตบูลลีน วงจรคอมบิเนชั่น ผังคาร์โนท์ วงจรเข้ารหัส วงจรแปลงรหัส วงจรเลขคณิต การเลือกข้อมูล การกระจายข้อมูล
             เกทชนิดอินพุทชมิตท์ วงจรพัลส์ วงจรมัลติไวเบรเตอร์ชนิดต่าง ๆ วงจรนับและหาร วงจรนับซิงโครนัสและแบบอซิงโครนัส เกทชนิด 3 สถานะ บัสและการ
             เชื่อมต่อระบบบัส วงจรซีเควนเชียล วงจร A/D และ D/A สเตทแมชีน ไมโครโปรเซสเซอร์เบื้องต้น และหน่วยความจำชนิดต่าง ๆ ให้มีการปฏิบัติการตาม
             ความเหมาะสม

5643508 ระบบไมโครโปรเซสเซอร์                                                                                                                                                           3(3-0)
             Microprocessors Systems
                
โครงสร้างและสถาปัตยกรรมของไมโครโปรเซสเซอร์ การเชื่อมต่อไมโครโปรเซสเซอร์กับหน่วยความจำ โปรแกรมมอนิเตอร์สำหรับไมโคร
             คอมพิวเตอร์แผ่นพิมพ์เดี่ยว การติดต่อระหว่างไมโครโปรเซสเซอร์กับอุปกรณ์ I/O การใช้ ชิพซัพทอร์ท (Chip Support) กับไมโครโปรเซสเซอร์ การใช้
             ไมโครโปรเซสเซอร์ในการควบคุมไมโครคอมพิวเตอร์แบบไอซีตัวเดียว (Single Chip Microcomputer) ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643509 เทคโนโลยีเซลล์แสงอาทิตย์                                                                                                                                                        3(2-2)
             Solar Cells Technology
               
ศึกษาเซลล์แสงอาทิตย์ และการพัฒนาเซลล์แสงอาทิตย์ บทวน คุณสมบัติของสารกึ่งตัวนำ เทคโนโลยีการสร้างและการปรับปรุงเซลล์แสงอาทิตย์ การ
             ใช้งานเซลล์แสงอาทิตย์ ให้มีการสาธิตและปฏิบัติการตามความเหมาะสม

5643510 การจัดการความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมในอุตสาหกรรม                                                                                                     3(3-0)
             Industrial Safety and Environmental Management
              
ศึกษาหลักการขั้นพื้นฐานในงานอุตสาหกรรม สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุในโรงงาน ผลเสียอันเกิดจากอุบัติเหตุ การสร้างจิตสำนึกในการรักษาความ
             ปลอดภัย การออกแบบอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล สิ่งแวดล้อมในโรงงานที่อาจก่อให้เกิดอันตรายขณะปฏิบัติงาน การใช้เครื่องกำบัง การวาง
             ผังโรงงาน ความเป็นระเบียบเรียบร้อย การใช้และเก็บรักษาเครื่องมือ การวางแผน และการวางมาตรการเพื่อลดอุบัติเหตุให้เกิดน้อยที่สุด การควบคุม
             และป้องกันสิ่งแวดล้อมที่เกิดจาอุตสาหกรรม การผลิตที่เป็นมลพิษ เช่น น้ำเสีย ดินเสีย อากาศเสีย ฝุ่นละออง สารตะกั่ว ควันพิษ มลพิษจากเครื่องกล
             จากธาตุกัมมันตรังสี จากระดับความเข้มเสียง แสง ความร้อน อัคคีภัย และความสั่นสะเทือน การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การจัดหน่วยงานเพื่อรักษาความ
             ปลอดภัย กฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย จิตวิทยาอุตสาหกรรมเกี่ยวกับการรักษา ความปลอดภัย ทั้งนี้ให้มีการสาธิตและการคำนวณด้วย

5643511 การควบคุมมลพิษและการขจัดของเสีย                                                                                                                                    3(3-0)
             Pollution Control and Waste Treatment
              
ความหมายของมลพิษ ชีวอนามัย ความปลอดภัย และการยศาสตร์(Ergonomics) เทคโนโลยีในการควบคุมมลพิษจากระบบนิเวศวิทยา สถาน
             ประกอบการเรือนกระจก มลพิษเกิดขึ้นในธรรมชาติ เช่น มลพิษจากความร้อน รังสี แสง เสียง อากาศ น้ำ ดิน ที่เป็นอนุภาค เป็นก๊าซและไอ ระบบระบาย
             อากาศ มลพิษจากเครื่องมือ เครื่องมือกล เครื่องจักรกล รถยนต์ เครื่องจักรต้นกำลัง หม้อน้ำ ภาชนะรับความดัน ภาชนะบรรจุก๊าซ และการขจัดของเสียที่ได้
             จากระบบนิเวศวิทยาสถานประกอบการ การเกษตรกรรม และสถานที่อื่น ๆ ที่ก่อให้เกิดมลพิษ ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643512 การจัดหาเงินทุนอุตสาหกรรม                                                                                                                                                  3(3-0)
             Money Resource for Industrial Investment
              
ศึกษาถึงบทบาทและหน้าที่ของฝ่ายการเงินในธุรกิจอุตสาหกรรม ตลอดจนเป้าหมายและความสำคัญของการเงินธุรกิจ โดยเน้นให้เข้าใจถึงหลักการ
             เบื้องต้นในการจัดสรรเงินทุนภายในธุรกิจ การจัดหาเงินทุนมาเพื่อใช้ในการดำเนินการของธุรกิจอุตสาหกรรม การวางแผนการเงินที่เกี่ยวกับการเริ่มลง
             ทุนกิจการการขยายกิจการบริษัทเงินทุนและหลักทรัพย์ การตัดสินใจเกี่ยวกับปัญหาทั่วไป ที่เกิดขึ้นในการดำเนินการทางด้านการเงินของธุรกิจกับระบบ
             เศรษฐกิจ ศึกษาถึงแหล่งเงินทุนของธุรกิจ เครดิตและหลักการให้เครดิต แอลซีทางการค้า กลยุทธ และเทคนิคในการจัดหาเงินทุนของธุรกิจ ได้แก่การจัด
             การเงินทุนระยะสั้น ระยะปานกลาง และระยะยาว การเพิ่มทุน โดยออกหุ้นสามัญ หุ้นปุริมสิทธิ์และหุ้นกู้ การเช่าค่าของทุนตลาดหลักทรัพย์ และนโยบายใน
             การจัดสรรกำไรและเงินปันผล

5643513 วิศวกรรมไฟฟ้าพื้นฐาน                                                                                                                                                          3(3-0)
             Fundamental of Electrical Engineering

                 ระบบจ่ายไฟฟ้าแรงต่ำ อุปกรณ์ตัดตอน การคำนวณโหลด อุปกรณ์ไฟฟ้าสำหรับอาคาร แนวทางการลดค่าไฟฟ้า มาตรฐานของสายไฟฟ้า การต่อสาย
             ไฟฟ้า ด้วยท่อร้อยสาย การเลื่อนอุปกรณ์ตัดตอนกระแสไฟฟ้า หม้อแปลงไฟฟ้า มอเตอร์ไฟฟ้า กระแสตรง กระแสสลับ ฟิวส์ เครื่องกลไฟฟ้า เบรกเกอร์
             อุปกรณ์ป้องกันไฟฟ้า การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าในโรงงานอุตสาหกรรม ไฟฟ้า 1 เฟส และ 3 เฟส วงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้เครื่องมือไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ เพื่อการ
             ตรวจสอบหาค่าและการบำรุงรักษา ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643514 วิศวกรรมเครื่องกลพื้นฐาน                                                                                                                                                     3(3-0)
             Fundamental of Mechanical Engineering
              
อุณหพลศาสตร์ การทำงานของเครื่องยนต์สันดาปภายใน เครื่องยนต์แบบต่าง ๆ เช่น เครื่องยนต์แก๊สโซลีน ดีเซล ระบบต่าง ๆ ของเครื่องยนต์แก๊ส
             โซลีน เช่น ระบบจุดระเบิด ระบบน้ำมัน เชื้อเพลิง ฝาสูบ ลิ้น ลูกสูบ แหวน กระบอกสูบ ก้านสูบ เพลา ข้อเหวี่ยง แบริ่ง การเปลี่ยนซีน การบริการระบบต่าง ๆ
             ในเครื่องยนต์ ระบบหล่อลื่น ระบบหล่อเย็น เฟืองชุด สายพาน เครื่องปรับอากาศในรถยนต์ ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ในรถยนต์ การตรวจช่วงล่าง การหล่อลื่น
             เครื่องกลการเกษตร และการบำรุงรักษา ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643515 การยศาสตร์อุตสาหกรรม                                                                                                                                                           3(3-0)
             Ergonomics for Industrial
             
ศึกษาความหมายของเออร์กอนอมิกส์ วิศวกรรมมนุษยปัจจัย กายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ โครงสร้าง และขนาดของร่างกายมนุษย์ ในงานวิศวกรรม
             ระบบการเคลื่อนไหวของร่างกายมนุษย์ เช่น กระดูก ข้อต่อ กล้ามเนื้อ ชีวกลศาสตร์ และสรีรวิทยา ในการทำงาน เมตาโบลิซึม ระบบประสาท การวัด
             สภาพร่างกายและจิตใจ ตลอดจนสิ่งแวดล้อมขณะทำงาน อุณหภูมิ ความชื้น แสง เสียง การสั่นสะเทือน การออกแบบเครื่องมือ ที่นั่งคันโยก การออก
             แบบงาน และสถานที่ปฏิบัติงาน พร้อมทั้งการตรวจตรา องค์ประกอบของมนุษย์ เช่น ความเมื่อยล้า อายุ ความจำ การรับรู้ การสับเปลี่ยนหน้าที่การงาน
             และแรงจูงใจ การออกแบบ และจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพในการทำงาน การยกย้ายวัสดุที่ต้องใช้มือและแรงกาย ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับ
             เครื่องจักร ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643516 การศึกษาการทำงานและการวัดการทำงานอุตสาหกรรม                                                                                                            3(3-0)
             Industrial Work Study and Work Measurement

              การวิเคราะห์วิธีการทำงาน วิธีวัดเวลาทำงาน การลดส่วนของงานและเวลาไร้ประสิทธิภาพ สภาพเงื่อนไขและสภาพแวดล้อมของการทำงาน การลด
             ความเมื่อยล้า การสร้างแผนภูมิการปฏิบัติการผลิต เช่น แผนภูมิไซโม่ การบันทึก ตรวจตราและพัฒนาหลักการเคลื่อนไหว การเคลื่อนที่ของคนงานใน
             บริเวณที่ปฏิบัติงาน การขนถ่ายวัสดุ การสุ่มงาน วิธีการทำงานให้ง่ายขึ้น การเลือก และการจับเวลาของงาน การกำหนดมาตรฐานในกระบวนการออก
             แบบ วิเคราะห์งาน การหาเวลามาตรฐานของการทำงานของคนกับเครื่องจักร ความเมื่อยล้าและการ พักผ่อนขณะปฏิบัติงาน เวลามาตรฐานแบบพรีดี
             เทอร์มีน การประเมินทางเลือกที่ดีที่สุด ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643517 เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม                                                                                                                                                          3(3-0)
             Engineering Economy
            
หลักเศรษฐศาสตร์ ดอกเบี้ยทบต้น ต้นทุน และค่าใช้จ่าย การวิเคราะห์ จุดต้นทุน มูลค่าเทียบเท่าประจำปี มูลค่าเทียบเท่าปีปัจจุบัน มูลค่าอนาคต
             การเปรียบเทียบอัตรา ผลตอบแทนในการลงทุนวิธีต่าง ๆ การวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายต่ำสุด อัตราผลประโยชน์ต่อเงินลงทุน การคัดเลือกโครงการเพื่อ
             การลงทุนการทดแทน และการจำหน่ายทรัพย์สิน ค่าเสื่อมราคาและภาษีอากร การวิเคราะห์ความไวภายใต้ความเสี่ยงและความไม่แน่นอน การ
             วิเคราะห์คุณค่าในส่วนซึ่งไม่สามารถประเมินเป็นตัวเลขแท้จริงได้

5643518 การบริหารงานอุตสาหกรรม                                                                                                                                                     3(3-0)
             Industrial Management
            
ศึกษาหลักการจัดการสมัยใหม่ แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารทั่วไป หลักการและหน้าที่สำคัญในการบริหาร ซึ่งมีขั้นตอนประกอบด้วย การตัดสินใจ
             ประกอบการ การวางแผน การจัดองค์การ การจัดกำลังคนในสายงาน การสั่งการและดำเนินการ การ ควบคุมและการเพิ่มผลผลิต การติดตามผล ตลอดจน
             ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับการเลือก ทำเล ที่ตั้ง การจัดองค์การการผลิตของสาธารณะและ อุตสาหกรรม วิธีการจูงใจให้บุคคลในหน่วยงานอื่นมาร่วมทำงาน
             การจัดระบบและการวิเคราะห์เพื่อนำไปสู่ระบบการผลิตที่มีประสิทธิภาพ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพยากรณ์เพื่อการผลิต การออกแบบงานและกระบวน
             การผลิต มนุษยสัมพันธ์ การฝึกงาน สุขภาพ สภาพการทำงาน ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม การวัดผลการทำงาน การลดต้นทุน การควบคุมคุณภาพ
             กฎหมายเชิงพาณิชย์ เศรษฐศาสตร์วิศวกรรมเบื้องต้น การเงิน การตลาด การโฆษณา การบริหารการเงินและบริหารโครงการ การบำรุงรักษาเครื่อง
             จักรและโรงงาน การจูงใจคนงานค่าแรงงานพิเศษ การแบ่งปันผลประโยชน์ กรณีศึกษาในการแก้ปัญหาการบริหารปัญหา ข้อขัดแย้งภายในและภาย
             นอกองค์กร กฎหมายและประเพณีการปฏิบัติทั่วไปในวงการ อุตสาหกรรม

5643519 ความแข็งแรงของวัสดุ 1                                                                                                                                                        3(3-0)
             Strength Of Materials 1

                ความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักบรรทุก หน่วยของแรงและความเค้น ความเครียด การเปลี่ยนแปลงรูปร่าง ภาชนะอัดความดัน และการเชื่อมต่อ การต่อ
             ด้วยหมุดย้ำ ส่วนของโครงสร้างรับแรงบิด และรับแรงดัด แรงเฉือน และ โมเมนต์ดัดในคาน คานที่ทำด้วยวัตถุสองชนิด ความเค้นดัด ความเค้นตรง ความ
             เค้นเฉือนในคาน ความเค้นผสมและการโก่งของคาน ส่วนของโครงสร้างรับแรงอัด ส่วนของโครงสร้างรับแรงตามแนวแกนและแรงดัดร่วมกัน ส่วนของ
             โครงสร้างรับแรงตามแนวแกน แรงดัด และแรงบิดคานเชิงประกอบ การต่อโครงสร้าง การดัดรอบสองแกนหลัก คานแบบอินดีเทอร์มิเนท และส่วนของ
             โครงสร้างรับน้ำหนักเคลื่อนที่ ดีเฟล็กชันของคาน เสาสูง ค่าคงที่ของความ ยืดหยุ่น การทดสอบวัสดุประกอบโลหะและอโลหะที่ใช้ทำโครงสร้างและส่วน
             ประกอบ ของเครื่องจักรกล ค่าความปลอดภัยในการออกแบบเครื่องกล ให้สาธิตตามความเหมาะสม

5643520 ระบบควบคุมด้วยไฮดรอลิกส์                                                                                                                                                   3(3-0)
             Hydraulics Control System
             
ระบบนิวแมติก ระบบไฮดรอลิก การใช้งานระบบไฮดรอลิก หลักการ พื้นฐานของระบบไฮดรอลิก ชุดต้นกำลังไฮดรอลิก ท่อน้ำมันไฮดรอลิกและข้อต่อถัง
             พัก และ การปรับสภาพของน้ำมัน ท่อทาง และซีลในระบบไฮดรอลิก ปั๊มไฮดรอลิก การปรับค่าแรงบิดหรือแรงดันของอุปกรณ์ทำงาน การควบคุม ทิศทาง
             และความเร็วของอุปกรณ์ทำงาน การออกแบบวงจรและการกำหนดขนาดของอุปกรณ์วาล์วควบคุมระบบไฮดรอลิก ระบบไฮดรอลิกแบบผสม วงจรไฮดรอลิก
             ในงานอุตสาหกรรม น้ำมันไฮดรอลิกและการบำรุงรักษา

5643521 กลศาสตร์ปฐพี                                                                                                                                                                         3(3-0)
             Soil Mechanics
                
ศึกษาเกี่ยวกับดิน ส่วนประกอบทางเคมี และทางกายภาพ การทับถม ของดิน ดินชนิดต่าง ๆ การเจาะสำรวจดิน คุณสมบัติของดินทางวิศวกรรม
             สถียรภาพของความลาด การพังทลาย การขุดตักดิน การหาแรงในดิน การบดอัดดิน การวิเคราะห์ การทรุดตัวของดิน การปรับปรุงชั้นดินอ่อน สำรวจดิน
             กำแพงกันดินและตอม่อของสะพาน ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643522 วิศวกรรมชลศาสตร์                                                                                                                                                                  3(3-0)
             Hydraulics Engineering
               
ศึกษาทฤษฎีทางชลศาสตร์ คุณสมบัติของของไหล ของไหลสถิต หลักการเกี่ยวกับการไหลของของไหล จลนศาสตร์ของการไหลของของไหลจริง หลัก
             การไหลของของไหล การวิเคราะห์มิติเชิงหน่วย และความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ การไหลของของไหลในท่อ การไหลในทางน้ำเปิด การไหลไม่คงที่ของ
             ของไหล การไหลของน้ำในแหล่งน้ำต่าง ๆ การไหลของน้ำหลาก การซึม และการกระจายของน้ำใต้ดิน การวัดอัตราการไหลของน้ำ การพัฒนาแหล่งน้ำ
             สมการของพลังงานและโมเมนตัม การออกแบบอ่างเก็บน้ำ เขื่อน ทางระบายน้ำล้น ประตูน้ำ และโครงสร้างต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการส่งจ่ายน้ำ การระบายน้ำ
             และวิธีการป้องกันอุทกภัย ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643523 วิศวกรรมไฟฟ้า                                                                                                                                                                          3(3-0)
             Electrical Engineering

              ศึกษาวงจร DC วงจร AC เฟสเดียวและสามเฟส กฎของเคอร์ซอฟฟ์ และหลักของแมกซ์เวลล์ วิธีโหนด และเมซ ทฤษฎีเทวินิน นอร์ตัน ทฤษฎีทับซ้อน
             กำลังสูงสุด กำลังเชิงซ้อน วงจรแม่เหล็ก หม้อแปลงไฟฟ้า ประสิทธิภาพและการเชื่อมโยง ลักษณะและการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรงและ
             มอเตอร์ การใช้และการควบคุมความเร็ว การหมุนของสนามของมอเตอร์เหนี่ยวนำเฟสเดียวและสามเฟส การสูญเสีย และประสิทธิภาพของมอร์เตอร์
             เหนี่ยวนำ การสตาร์ท มอเตอร์เหนี่ยวนำ

5643524 ทฤษฎีวงจรข่ายไฟฟ้า                                                                                                                                                                  3(3-0)
             Electrical Network Theory
                
ตัวแปรเบื้องต้นที่ใช้ในการวิเคราะห์โครงข่าย การวิเคราะห์โครงข่ายเบื้องต้น ทฤษฎีโครงข่ายวงจร และหลักการที่เป็นประโยชน์ สัญลักษณ์โดย
             เมตริกซ์ อุปกรณ์ไฟฟ้าหลายขั้ว การวิเคราะห์โครงข่ายอันดับหนึ่ง ฟังก์ชันพิเศษที่ควรสนใจ การวิเคราะห์วงจรที่มีอันดับสูงในโดเมนของเวลา ผลการ
             แปลง ลาปลาซ การวิเคราะห์สถานะคงตัวของวงจรที่ใช้คลื่นไซน์ นัยทั่วไปของการวิเคราะห์วงจรภายใต้สถานะคงตัวของคลื่นรูปไซน์ อนุกรมฟูเรียร์
             และการแปลง ฟูเรียร์ การวิเคราะห์โครงข่ายวงจรไฟฟ้าด้วยคอมพิวเตอร์

5643525 การสื่อสารทางอิเล็กทรอนิกส์                                                                                                                                                     3(3-0)
             Electronics Communication
                
วิวัฒนาการของสื่อสาร ความหมายของข้อมูล วงจรเครื่องขยายแบบปรับคลื่น การผสมและการแปลงความถี่ การผสมแอมพลิจูดและการวัด หลักการ
             ผสมคลื่น การแยกคลื่นแบบต่าง ๆ และการวัด การส่งสัญญาณแบบต่าง ๆ วงจรและหลักการทำงานของเครื่องรับชนิดซูเปอร์เฮทเทอโรดายน์ ความถี่และ
             การผสมเฟส คลื่นแทรกแซงและคลื่นรบกวน การลดเสียงรบกวน การผสมพัลส์ ระบบรหัส การแพร่กระจายคลื่นวิทยุผ่านบรรยากาศ ระบบเครื่องสื่อสาร
             ผ่านดาวเทียม การสื่อสารใยแสง วงจรสร้างความถี่ วงจรดิจิตอลในเครื่องส่งและเครื่องรับ ระบบมัลติเพล็ก วงจรเครื่องรับและเครื่องส่ง สัญญาณทางวิทยุ
             เรดาร์ ไมโครเวฟ เลเซอร์ การสื่อสารระบบอนาลอกและดิจิตอล ระบบการสื่อสารแบบต่าง ๆ เช่น โทรศัพท์ โทรเลข โทรพิมพ์ โทรสาร และระบบสื่อ
             สัญญาณดิจิตอลด้วยเคเบิลใยแสงความเร็วสูง (S.D.H.) ให้มีการสาธิตตามความ เหมาะสม

5643526 ทฤษฎีการวิเคราะห์วงจรอิเล็กทรอนิกส์                                                                                                                                     3(3-0)
             Electronics Circuit Analysis Theory
               
วิเคราะห์วงจรขยายสัญญาณขนาดเล็ก วงจรขยายป้อนกลับออสซิเลเตอร์ วงจรขยายกำลัง วงจรแรงดันคงที่ การวิเคราะห์ขอบข่ายของความถี่และขอบ
             ข่ายของเวลา ทฤษฎี เสถียรภาพ การออกแบบ และการชดเชยระบบควบคุม การแทนชุดวางซ้อน ในภาคการต่อแบบอนุกรมของระบบควบคุม

5643527 การวิเคราะห์วงจรข่ายไฟฟ้า                                                                                                                                                     3(3-0)
             Electrical Network Analysis
               
คำจำกัดความ นิยาม การคำนวณโครงข่ายวงจรไฟฟ้า สัญญาณและ ฟงก์ชัน อุปกรณ์ไฟฟ้าหลายขั้ว การวิเคราะห์วงจร First Order และ Second
             Order ผลการแปลงลาปลาซ ตัวแปรสถานะ วงจรไฟฟ้ากำลัง 1 เฟส 3 เฟส การคำนวณโดยใช้ระบบ Per Unit การวิเคราะห์วงจรภายใต้สถานะคงตัว
             ของคลื่นรูปไซน์ การหาความสัมพันธ์ระหว่างแรงดัน และกระแสในระบบส่ง-จ่าย Two-Port Network ฟูเรียร์ อินทิกรัล การแปลงฟูเรียร์ การจำลอง
             วงจรไฟฟ้าด้วยคอมพิวเตอร์

5643528 เครือข่ายการสื่อสารและสายส่ง                                                                                                              3(3-0)
             Communication Networks and Transmission Lines
               
โครงข่ายอิมเมจและอิตเตอร์เรทีฟพารามิเตอร์ วงจรกรองความถี่ วงจรปรับจำนวนเท่า และวงจรลดทอนสัญญาณ ทฤษฎีเกี่ยวกับสายส่ง สมการทั่วไป
             ของสาย ส่งคลื่นกระแสและแรงดัน แรงดันในสายส่ง ค่าคงที่ของสายส่ง การวัดแรงดันและกระแสภายในสาย การสะท้อนกลับ ค่าเอสดับบลิวอาร์
             สมิทชาร์ท และอิมพีแดนซ์แมทชิ่ง ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643529 หลักของระบบการสื่อสาร                                                                                                                                                          3(3-0)
             Principles of Communication Systems

                ประวัติของการสื่อสารทางไฟฟ้า การวิเคราะห์ และประมวลผลสัญญาณ การรวมคลื่นแบบดิจิตอลและลอจิก ระบบการวัด การลดเสียงรบกวน หลัก
             ของระบบการสื่อสารธรรมดา หลักการผสมคลื่น และการส่งแบบต่าง ๆ การผสมพัลส์ ระบบรหัสการแพร่กระจายคลื่นวิทยุผ่านบรรยากาศ ระบบสื่อสารผ่าน
             ดาวเทียม การสื่อสารด้วยเคเบิลใยแสง และระบบการสื่อสารต่าง ๆ เช่น โทรเลข โทรศัพท์ โทรสาร ฯลฯ ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643530 การลดสัญญาณรบกวนในวงจรอิเล็กทรอนิกส์                                                                                                                         3(2-2)
             Noise Reduction in Electronics Circuits

               สัญญาณรบกวน การป้องกันการรบกวนในตัวนำ ผลที่แสดงเป็นตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนำของตัวนำไฟฟ้า ผลของสนามแม่เหล็กตัวประกอบ การ
             ป้องกันสัญญาณรบกวน การป้องกันสัญญาณรบกวนแบบไขว้สายและแบบอื่น ๆ การกราวน์ของระบบอิเล็กทรอนิกส์ การป้องกันสัญญาณรบกวนของวงจร
             ขยายสัญญาณ การแยกวงจรโดยใช้หม้อแปลงไฟฟ้า การเชื่อมโยงโดยใช้อุปกรณ์ทางแสง การป้องกันสัญญาณรบกวนจากภายนอก ชนิดของเคเบิลและตัว
             เชื่อม การสมดุล การเชื่อมต่อของอุปกรณ์ประเภทแพสซีส การป้องกันการสึกกร่อนของหน้าสัมผัส การออกแบบวงจรแผ่นพิมพ์ ให้ปฏิบัติการตามความ
             เหมาะสม

5643531 กลศาสตร์ของแข็ง                                                                                                                                                                     3(3-0)
             Mechanics of Solids

                แรงและน้ำหนักบรรทุก สมดุลของแรง ความเค้น ความเครียด ภาชนะอัดความดันและการเชื่อมต่อ การต่อด้วยหมุดย้ำและสลักเกลียว การบิด แผนผัง
             แรงเฉือน และโมเมนต์ดัด ความเค้นตั้งฉากในคาน ความเค้นเฉือนในคาน การเปลี่ยนรูป ความเค้น การเบี่ยงเบนของคานโดยการอินทิเกรด และโดย
             วิธีพื้นที่โมเมนต์ เสาสูง พลังงาน ความเครียด ทฤษฎีคานโค้ง คานซึ่งไม่สามารถแก้ปัญหาด้วยหลักสถิตยศาสตร์ ทรงกระบอก ผนังหนาและแผ่นกลมหมุน
             โมเมนต์ของความเฉื่อย โครงสร้างรับน้ำหนักเคลื่อนที่ การทดสอบวัสดุประกอบโลหะและอโลหะ ความแข็งแรงของวัสดุที่ใช้ทำโครงสร้าง และส่วนประกอบ
             ของเครื่องกล และค่าความปลอดภัยในการออกแบบเครื่องกล ส่วนของโครงสร้าง รับแรงแบบต่าง ๆ โดยให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643532 การบำรุงรักษาห้องแช่แข็ง                                                                                                                                                        3(3-0)
             Freezing Preservation

              ศึกษาโครงสร้างของห้องแช่แข็ง วัฏจักรการทำความเย็น ระบบการทำความเย็นแบบต่าง ๆ และคุณสมบัติของสารทำความเย็น การคำนวณภาระ
             ความเย็นในห้องแช่แข็ง วัสดุที่ใช้ในการบำรุงรักษาและวิธีการบำรุงรักษาห้อง แช่แข็งอย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643533 เทคโนโลยีวิศวกรรมฐานราก                                                                                                                                                     3(3-0)
             Foundation Engineering Technology
               
ชนิดของฐานราก แบบของฐานราก การส่งถ่ายแรงของฐานรากลงสู่ดิน และเสถียรภาพ การออกแบบฐานที่ใช้และไม่ใช้เสาเข็ม ชั้นทรายร่วน ชั้นดินตื้น
             การทรุดตัวของฐานราก และวิธีทดสอบเสาเข็มชนิดต่าง ๆ น้ำหนักบรรทุกของเสาเข็ม การเจาะสำรวจดิน กำแพงกันดิน และตอม่อของสะพาน ให้มีการ
             สาธิตตามความเหมาะสม

5643534 เทคนิคการก่อสร้าง                                                                                                                                                                    3(3-0)
             Construction Technology

               ศึกษาลักษณะโครงสร้างอาคารแบบต่าง ๆ เทคนิคการก่อสร้างอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก การหล่อในที่ เทคนิคการสร้างแบบหล่อคอนกรีต คอนกรีต
             สำเร็จรูป การทำนั่งร้าน การติดตั้งโครงสร้างไม้และเหล็ก การก่อสร้างอาคารสำเร็จรูป การก่อสร้างระบบพื้นไร้คาน การใช้เครื่องจักรกลงานก่อสร้าง
             เทคนิคการจัดระบบงาน การหาแหล่งวัสดุก่อสร้าง ขั้นตอนการปฏิบัติงาน การปรับแต่งสถานที่ การสร้างอาคาร ชั่วคราว การวางผัง การตอกเข็ม การสร้าง
             ฐานราก เสาตอม่อ คาน พื้น บันได โครงหลังคา การทำมุมหลังคา ฝา ผนัง ประตู หน้าต่าง ฝ้าเพดาน อุปกรณ์ตกแต่งผนัง การเก็บวัสดุ และการบำรุงรักษา
             เครื่องมือเกี่ยวกับการก่อสร้าง ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643535 ความแข็งแรงของวัสดุ 2                                                                                                                                                             3(3-0)
             Strength of Materials 2
              
การวิเคราะห์คานต่อเนื่อง แกนรวมในแนวราบ การคดงอ ความเครียดเฉือน เส้นโค้งของ Mohr การโค้งงอของเสา คานรวม การโค้งงอที่ไม่สมมาตร
             โครงสร้างหลัก เพื่อการเคลื่อนที่ของโหลด การประยุกต์ใช้ในการออกแบบ โครงสร้างไม้และโครงสร้างเหล็ก

5643601 การวัดและเครื่องมือวัด                                                                                                                                                              3(3-0)
             Measurement and Instrumentation
                 
การวิเคราะห์อุปกรณ์ในรูปของระบบย่อยและชิ้นส่วน ลักษณะของชิ้นส่วน ในอุปกรณ์มาตรฐาน การวิเคราะห์ความคลาดเคลื่อน การออกแบบอุปกรณ์
             ระบบของอุปกรณ์ ความสามารถและขีดจำกัดของอุปกรณ์ การวัดและการใช้อุปกรณ์ทางอุตสาหกรรม การวัดปริมาณ ระดับและการวัดปริมาณเชิงวิเคราะห์
             เช่น การวัดอุณหภูมิ ความดัน ปริมาณการไหล ระดับของของไหล ความเป็นกรดเป็นด่างของสาร ความชื้น ความหนาแน่น ความหนาแน่นสัมพัทธ์ สภาพ
             การนำทางไฟฟ้า มลพิษทางอากาศ น้ำ ดิน การวัดและการส่งสัญญาณเพื่อควบคุมกระบวนการผลิต การทำงานของตัวควบคุมโดยระบบไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์
             ไฮดรอลิกและนิวแมติก ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643602 การวัดและเครื่องมือวัดไฟฟ้า                                                                                                                                                    3(3-0)
             Electrical Measurements and Instrumentation

                หน่วยและเครื่องมือวัดมาตรฐาน หลักการ และการทำงานของเครื่องวัดทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ชนิดต่าง ๆ และการ ใช้งานที่ถูกต้อง การวัด
             โวลเตจ กระแสความต้านทาน การวัดเพาเวอร์แฟคเตอร์ไฟฟ้า อิมพิแดนซ์ที่มีความถี่ต่ำและสูง ค่าผิดพลาดในการวัด มาตรฐานและโครงสร้างของ
             เครื่องมือวัดไฟฟ้า ทั้งกระแสตรง และกระแสสลับ เช่น เครื่องวัดแรงดันไฟฟ้า เครื่องวัดความต้านทาน มัลติมิเตอร์ เครื่องวัดพลังงานไฟฟ้า เครื่องวัด
             กำลังไฟฟ้า  ทรานสดิวเซอร์ การวัดทางแม่เหล็ก การวัดโดยเทคนิคเชิงตัวเลข สัญญาณรบกวน เทคนิคในการทำให้อัตราส่วนสัญญาณ กับสัญญาณ
             รบกวนดีขึ้น การซีลด์  เครื่องวัดความเร็วรอบ เครื่องวัดความถี่ เครื่องกำเนิดสัญญาณ เครื่องวัดแบบบริดจ์ ออสซิลโลสโคป มิเตอร์แบบดิจิตอลชนิดต่าง ๆ
             ที่ใช้ ในงานอุตสาหกรรม ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643603 การวิเคราะห์เชิงตัวเลขในงานวิศวกรรม                                                                                                                                   3(2-2)
             Numerical Method Analysis for Engineers
               
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการคำนวณเชิงตัวเลข โครงสร้างคอมพิวเตอร์และการ วิเคราะห์ความผิดพลาด รากของสมการ ระบบของสมการเชิงเส้น การ
             หารากสมการที่ไม่เป็นเชิงเส้น การคำนวณโฟลตติ้งพอยต์ เคิร์บฟิทติ้ง การประมาณค่าในช่วงโดยพหุนามและความผิดพลาด การหาค่าของอนุพันธ์และ
             การอินทิเกรตเชิงตัวเลข วิธีการอิทเทอเรทีฟ การประมาณค่าแบบกำลังสองน้อยที่สุด และการประมาณค่าเป็นช่วงโดยพหุนามดีกรีสาม การหาคำตอบของ
             สมการที่ไม่เป็นเชิงเส้น การหาคำตอบของสมการเชิงอนุพันธ์สามัญและสมการเชิงอนุพันธ์ย่อย การโปรแกรมเชิงเส้น การวิเคราะห์ความคลาดเคลื่อน
             การคำนวณค่าไอเกนและไอเกนเวกเตอร์ การใช้โปรแกรมย่อยสำเร็จรูปทางคณิตศาสตร์และทางฟิสิกส์ ให้ปฏิบัติการตามความเหมาะสม

5643604 ปฏิบัติการทฤษฎีวงจรไฟฟ้า                                                                                                                                                     1(0-3)
             Electrical Circuit Theory Laboratory

               ให้ทำการทดลองโดยออกแบบให้ครอบคลุมเนื้อหาวิชาทฤษฎีวงจรไฟฟ้า การวิเคราะห์วงจรข่ายไฟฟ้า และทฤษฎีวงจรข่ายไฟฟ้า ไม่น้อยกว่า 10 การ
             ทดลอง

5643605 ปฏิบัติการเครื่องมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์                                                                                                                           1(0-3)
             Electrical and Electronics Instrument Laboratory
              
ให้ทำการทดลองโดยออกแบบให้ครอบคลุมเนื้อหาวิชาการวัด และเครื่องมือวัด การวัดและเครื่องมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ทั่วไป การใช้เครื่องมือ
             วัดอิเล็กทรอนิกส์ สมัยใหม่ พร้อมการคำนวณไม่น้อยกว่า 10 การทดลอง

5643606 เทคนิคการวิเคราะห์โครงสร้าง                                                                                                                                                      3(3-0)
             Structural Analysis Technique

                การวิเคราะห์โครงสร้างอินดีเทอร์มิเนท โดยวิธีอีลาสติกโหลด พลังงาน สะสม Slope-Deflection Moment-Distribution อินฟลูเอนซีไลน์
             สำหรับคาน ต่อเนื่องและกรอบการวิเคราะห์โดยวิธีอีลาสติก การวิเคราะห์อย่างประมาณของกรอบโครงสร้าง การวิเคราะห์การโก่งตัวของโครงสร้างด้วย
             วิธีการต่าง ๆ เช่น Conjugate-Beam Statically Indeterminate Structures Three-Moment Equation วิเคราะห์โครงสร้างโดยเมทริกซ์
             และการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยคอมพิวเตอร์

5643607 ปฏิบัติการวิศวกรรมเครื่องกล 1                                                                                                                                                  1(0-3)
             Mechanical Engineering Laboratory 1
               
ให้ทำการทดลอง โดยออกแบบการทดลองเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาอุณห  พลศาสตร์ กลศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของแข็ง โดยเน้นการใช้เครื่องมือ และ
             เทคนิคในการนำไปใช้ในงานอุตสาหกรรม ไม่น้อยกว่า 10 การทดลอง

5643608 ปฏิบัติการทดสอบความแข็งแรงของวัสดุ                                                                                                                                  1(0-3)
             Strength of Materials Testing Laboratory
              
ให้ทำการทดลอง โดยออกแบบให้ครอบคลุมเนื้อหาวิชาวัสดุศาสตร์ วัสดุ  วิศวกรรม วัสดุวิศวกรรมไฟฟ้า และวัสดุศาสตร์ช่างโยธา การทดสอบวัสดุ
             ความแข็งแรงของวัสดุ เช่น เหล็กกล้า ท่อนไม้ อิฐ เสา คาน และเหล็กหล่อ ฯลฯ ไม่น้อยกว่า 10 การทดลอง

5643609 ปฏิบัติการไฮดรอลิกส์และกลศาสตร์ของไหล                                                                                                                                1(0-3)
             Hydraulics and Fluid Mechanics Laboratory
              
ให้ทำการทดลองการวัดความดันของไหล การไหลผ่านท่อ ฝาย ทำนบเขื่อน ขนาดของแรงที่ทำให้ไหล การวัดอัตราการไหลในหลอดหรือท่อ การไหล
             ในช่องทางเปิด และการไหลอย่างสม่ำเสมอ ฯลฯ ไม่น้อยกว่า 10 การทดลอง

5643610 วิศวกรรมการสำรวจงานก่อสร้าง                                                                                                                                                 3(3-0)
             Construction Surveying Engineering
                     
การสำรวจที่เกี่ยวข้องโปรแกรมงานวิศวกรรม สถาปัตยกรรมซึ่งจำเป็น ต่อการวางแผนงานก่อสร้าง งานรังวัดกำหนดวางจุด และแนวพื้นดิน การวาง
             แผนก่อสร้างอาคาร กำหนดความลาดชันและความโค้งของการวางแนวถนน และทางงานท่อน้ำทิ้ง ท่อระบายน้ำ ทางรถไฟ ทางหลวง คลอง ท่อประปา สาย
             ส่ง งานรังวัดเพื่อคำนวณหาพื้นที่และปริมาตร การควบคุมงาน การตรวจงานให้เป็นไปตามรูปแบบรายละเอียดการก่อสร้าง การทำรายงานการก่อสร้าง และ
             ผลการสำรวจวัสดุ การรักษาความปลอดภัยตามหลักวิศวกรรม และความงามตามหลักของสถาปัตยกรรม ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643611 เทคนิคการสำรวจ                                                                                                                                                                          3(3-0)
             Surveying Technique
                ศึกษาหลักการทั่วไปเกี่ยวกับหลักการสำรวจ เทคนิคการใช้เครื่องวัด และส่วนประกอบของเครื่องวัดตามหลักของวิชาการ วิธีทำแผนที่ด้วยโต๊ะแผนที่
             หลักการสำรวจด้วยเทป เข็มทิศกลับ กล้องวัดมุม การทำวงรอบ การหาพื้นที่ การหาระดับ การวัดมุมหาระยะ การหาปริมาตรดินตัด ดินถม การวางผัง การ
             อ่านค่าจากสเกรน การอ่านระดับจากสเกรน การรับผิดชอบเครื่องมือวัดขณะปฏิบัติงาน เช่น การนำออกไปใช้ การติดตั้งส่วนประกอบ การเคลื่อนย้าย การ
             ปฏิบัติงานที่ถูกต้อง การทำความสะอาดเลนส์ การบำรุงรักษา และการเก็บเครื่องวัดแต่ละลักษณะงานให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643612 การรังวัดด้วยภาพถ่าย                                                                                                                                                                 3(3-0)
             Photogrammetry
                    
ประวัติการพัฒนา และการประยุกต์ใช้การรังวัดด้วยภาพ กล้องถ่ายภาพสามมิติและการใช้ถ่ายภาพ การปรับปรุงกล้อง การวางแผนการบิน การควบคุม
             ภาคพื้นดิน ภาพสามมิติ และการมอง เครื่องมือวัดพื้นฐาน การอ่านแผนที่จากภาพถ่ายทางอากาศ การขยายภาพ และการฝังเสาหลัก การังวัดด้วยภาพถ่าย
             บนพื้นโลก และหลักการวิเคราะห์ภาพถ่าย ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643613 ปฏิบัติการสำรวจและการรังวัดด้วยภาพถ่าย                                                                                                                              1(0-3)
             Surveying and Photogrammetry
              
ให้อาจารย์ผู้สอนออกแบบการทดลองโดยครอบคลุมเนื้อหาวิชาการสำรวและการรังวัดด้วยภาพถ่าย ไม่น้อยกว่า 10 การทดลอง

5643614 การทดสอบวัตถุ                                                                                                                                                                            3(3-0)
             Materials Testing
                
ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติของวัสดุที่ใช้ในการก่อสร้าง ศึกษาทฤษฎีและ พฤติกรรม การรับแรงของวัสดุโครงสร้างประเภทไม้ เหล็ก และคอนกรีตเสริม
             เหล็ก ศึกษาวิธีการตรวจสอบคุณสมบัติ วิธีการทดสอบ การสุ่มตัวอย่าง วัสดุเพื่อนำมาทดสอบในการรับแรงอัดแรงดึง แรงดัด แรงเฉือน แรงบิด และ
             แรงยึดเหนี่ยว

5643615 ปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้า                                                                                                                                                          1(0-3)
             Electrical Engineering Laboratory
              
ให้ทำการทดลองโดยออกแบบให้ครอบคลุมเนื้อหาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า และศึกษาเกี่ยวกับการติดตั้งไฟฟ้าในโรงงานอุตสาหกรรมด้วยอุปกรณ์การติด
             ตั้ง ได้แก่ ท่อร้อยสายไฟฟ้า รางเดินไฟฟ้า ทางเดินบัส การเลือกอุปกรณ์ป้องกัน การติดตั้งเครื่องจักรกลไฟฟ้า การออกแบบเพื่อการติดตั้งให้ได้มาตราฐาน
             ไม่น้อยกว่า 10 การทดลอง

5643616 ปฏิบัติการวิเคราะห์วงจรอิเล็กทรอนิกส์                                                                                                                                     1(0-3)
             Electronics Circuit Analysis Laboratory
               
ให้ทำการทดลองโดยออกแบบให้ครอบคลุมเนื้อหาวิชา การวิเคราะห์วงจรอิเล็กทรอนิกส์ ไม่น้อยกว่า 10 เมตร

5643617 ปฏิบัติการวิศวกรรมเครื่องกล 2                                                                                                                                                1(0-3)
             Mechanical Engineering Laboratory 2
                    
ให้ทำการทดลอง โดยการออกแบบการทดลองเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาไฮดรอลิกส์นิวแมติกส์ โดยเน้นการใช้เครื่องมือและเทคนิคการนำไปใช้งานอุตสาห
             กรรมไม่น้อยกว่า 10 การทดลอง

5643618 ปฏิบัติการสนามและคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า                                                                                                                                      1(0-3)
             Electromagnetics Field and Wave Laboratory
              
ให้ทำการทดลองโดยออกแบบให้ครอบคลุมเนื้อหาวิชาสนามและคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ไม่น้อยกว่า 8 การทดลอง

5643619 ปฏิบัติการกลศาสตร์และกลศาสตร์ของการไหล                                                                                                                          1(0-3)
             Mechanics and Fluid Mechanics Laboratory
                
ปฏิบัติการเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง ความเร่งเนื่องจากค่าคงที่สากล (Universal constant) การเคลื่อนที่แบบวงกลม การเคลื่อนที่แบบ
             หมุนและแบบกลิ้งโมเมนต์ของความเฉื่อย การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิก เพนดูลัมเชิงประกอบ เพนดูลัม การบิด กฎของปาสคาล กฎของแบร์นูลลี่ กฎของ
             พอยซิล กฎของสโตกส์ ความหนืดและการไหลแบบต่าง ๆ

5643620 เครื่องมือทางวิศวกรรม                                                                                                                                                             3(3-0)
             Tool Engineering
                
หลักการตัดโลหะ เครื่องมือในการใช้ตัดโลหะ น้ำมันหล่อเย็น มาตรฐานวัดมาตรวิทยา ลักษณะผิวเนื้อโละ เครื่องมือกล ความถูกต้องเที่ยงตรงในการ
             วัด ตัวเกาะ (Jigs) และตัวจับ (Fixture) เครื่องมือทางวิศวกรรมที่ใช้คอมพิวเตอร์ควบคุมการตัดให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5643621 ทฤษฎีโครงสร้าง                                                                                                                                                                         3(3-0)
             Theory of Structures
              
ศึกษาเกี่ยวกับแรง แรงดึง แรงเฉือน ความเค้น และความเครียดจากแรงตามแนวแกน โมเมนต์ในโครงสร้างดีเทอร์มิเนท เส้นอิทธิพล การวิเคราะห์
             ความเครียดใน ข้อหมุน โครงสร้างหลักเพื่อการเคลื่อนที่ของโหลด ความเค้นในคาน การวิเคราะห์ โครงสร้างแบบง่าย และแบบยากที่รับน้ำหนักคงที่ การ
             คำนวณหาแรงในโครงข้อหมุนหรือโครงถัก โดยวิธีต่าง ๆ การคดงอของคาน และกรอบ โดยวิธีงานเสมือนและพลังงานความเครียด ไดอะแกรมของ
             Williot Mohr การวิเคราะห์โครง สร้างที่รับแรงตามแนวแกนและแรงตัดร่วมกัน การวิเคราะห์โครงสร้างแบบดีเทอร์มิเนท และอินดีเทอร์มิเนทที่รับ
             น้ำหนักคงที่ สมการ Three Moment พฤติกรรมของโครงสร้าง การวิบัติของโครงสร้างไม้ เหล็ก และคอนกรีต

5643622 ปฏิบัติการระบบไมโคโปรเซสเซอร์                                                                                                                                             1(0-3)
             Microprocessors Systems Laboratory
               
ให้ปฏิบัติการเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมไมโครโปรเซสเซอร์ การต่อเชื่อมไมโครโปรเซสเซอร์กับหน่วยความจำ การติดต่อระหว่างไมโครโปรเซสเซอร์ I/0
             การใช้ชิพซัพพอร์ท กับไมโครโปรเซสเซอร์ การใช้ไมโครโปรเซสเซอร์ในงานอุตสหกรรม

5643623 ปฏิบัติการอุตสาหกรรม 1                                                                                                                                                          1(0-3)
             Industrial Laboratory 1
                
ให้ปฏิบัติการ โดยออกแบบให้ครอบคลุมเนื้อหาวิชาการออกแบบโรงงานการศึกษา การทำงาน การวัดการทำงาน และการยศาสตร์อุตสาหกรรม

5643624 ปฏิบัติการอุตสาหกรรม 2                                                                                                                                                          1(0-3)
             Industrial Laboratory 2
               
ให้ปฏิบัติการโดยออกแบบให้ครอบคลุมเนื้อหาวิชาการวางแผน และควบคุมการผลิต การวิจัยเชิงปฏิบัติการ ทฤษฎีแถวคอย การดำเนินงานในโรงงาน
             อุตสาหกรรม เครื่องมือทางวิศวกรรม เทคโนโลยีการผลิต การควบคุมคุณภาพ ยูนิตโอโปเรชัน การวัดและเครื่องมือวัดระบบอัตโนมัติ ไม่น้อยกว่า 10 การ
             ทดลอง

5643701 เคมีสำหรับเทคโนโลยีนิวเคลียร์                                                                                                                                                  3(3-0)
             Chemistry for Nuclear Technology
                     
โครงสร้างอะตอม พันธุเคมี สมบัติของของแข็ง ของเหลวและก๊าซ ปฏิกิริยา เคมี กรด เบส เกลือ การวิเคราะห์สารเคมี สารอนินทรีย์ที่พบในธรรมชาติ
             ถ่านหิน น้ำมัน ธาตุ โลหะ โลหะผสม สารกึ่งตัวนำ สารกัมมันตรังสี โดยเน้นการเขียนสูตรของสารประกอบที่มีธาตุกัมมตรังสีปนอยู่ พร้อมทั้งการเขียน
             สมการแสดงปฏิกิริยาทางเคมีของ สารกัมมันตรังสีเหล่านั้น

5644101 การออกแบบบรรจุภัณฑ์                                                                                                                                                               2(1-2)
             Package Design
                
ศึกษาความเป็นมาของผลิตภัณฑ์บรรจุหีบห่อ และความต้องการในการใช้ ผลิตภัณฑ์หีบห่อ การออกแบบหีบห่อ ภาชนะเพื่อใช้กับผลิตภัณฑ์แต่ละ
             ประเภท ศึกษาเรื่องรูปทรง รูปแบบ โครงสร้าง สี ภาพคลี่ หีบห่อผลิตภัณฑ์ ฝึกปฏิบัติออกแบบหีบห่อบรรจุผลิตภัณฑ์ให้มีขนาดมาตรฐาน และสัดส่วน
             สัมพันธ์กับลักษณะผลิตภัณฑ์ประเภทต่าง ๆ

5644102 การออกแบบระบบความร้อน                                                                                                                                                      3(3-0)
             Thermal Systems Design
              
หลักการออกแบบระบบความร้อน ศึกษากฎและกระบวนการทางอุณหภูมิพลศาสตร์ วัฏจักรของเครื่องจักรกลความร้อน การถ่ายเทความร้อน เชื้อเพลิง
             และการสันดาป การออกแบบเครื่องจักรไอน้ำ หม้อน้ำ กังหันไอน้ำ กังหันแก๊ส และเครื่องควบแน่น ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5644103 การออกแบบเครื่องจักรกล                                                                                                                                                         3(3-0)
             Mechanical Design
               
ศึกษาปรัชญาของการออกแบบ พื้นฐานของผู้ออกแบบเครื่องกล ขั้นตอนของการออกแบบ ค่าความปลอดภัย คุณสมบัติทางโลหวิทยาของวัสดุเกี่ยวกับ
             ความแค้นผสมและทฤษฎีความเค้นเสียหาย การออกแบบสำหรับการแตกหัก เนื่องจากความล้า ความเครียด มอดูลัส พิกัดความปลอดภัยของวัสดุ ชิ้นส่วน
             ของเครื่องจักรกลขั้นพื้นฐานซึ่งมีรอยต่อด้วยหมุดย้ำและสลักเกลียว การยึดด้วยหลักเกลียว หมุดย้ำ ลิ่ม สลัก สปริง แบริ่ง คลัช คับปลิ้ง เบรก การเชื่อมต่อ
             สายพาน และโซ่ เฟืองตรง เฟืองเฉียง เฟืองดอกจอก ชุดเฟืองหนอน เจอร์นัลแบริ่ง และการหล่อลื่น โรลลิ่งแบริ่ง ทำโครงการออกแบบเครื่องกลที่มีความ
             ซับซ้อน ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5644104 การออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกล                                                                                                                                             3(3-0)
             Design of Machine Elements
               
ศึกษาหลักการออกแบบทางวิศวกรรมเครื่องกล ลำดับขั้นในการออกแบบข้อที่ต้องพิจารณา ตัวประกอบของความปลอดภัย มาตรฐานและรหัส และการ
             วิเคราะห์ ความเค้น วัสดุและคุณสมบัติของวัสดุ การออกแบบสำหรับความแข็งแรงสถิต ความ แข็งแรง ความแข็งแรงต่อความล้า การออกแบบส่วนประกอบ
             ของเครื่องจักรกล เช่น เกลียว เพลา ลิ่ม สปลายน์ สลัก แบริ่ง คลัช คับปลิ้ง สายพานโซ่ เฟืองตรง เฟืองเฉียง เกียร์ ลิ้นกับกลับ ลิ้นนิรภัย ลิ้นนำทาง เครื่อง
             ช่วยแรงแบบนิวแมติกและไฮดรอลิก และชิ้นส่วนอื่น ๆ ของเครื่องจักรกล ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5644105 การออกแบบเครื่องจักรกลการเกษตร                                                                                                                                        3(3-0)
             Agricultural Machinery Design
                
หลักการออกแบบเครื่องจักรกล ลักษณะและโครงสร้างพื้นฐาน หน้าที่ที่ต้องการใช้ในการปฏิบัติงาน การปรับปรุงเครื่องจักรกลการเกษตร ชนิดของการ
             ออกแบบและการจัดการ กำลังที่ต้องการโดยคำนึงถึงประสิทธิภาพ และการบำรุงรักษาเครื่องจักรกลในทุ่งนา การออกแบบเครื่องจักรกลช่วยในการดำนา
             เครื่องสูบน้ำ รถไถ เครื่องปลูก เครื่องเกี่ยวข้าว เครื่องนวดข้าว เครื่องหว่านเมล็ด เครื่องยกย้ายข้าว เครื่องจักรกลสำหรับการเก็บเกี่ยวทั่วไป พร้อมทั้งการซ่อม
             ท่อ ข้อต่อ ประตูน้ำ เกลียวท่อ และการเดินท่อน้ำ

5644201 การติดตั้งไฟฟ้า                                                                                                                                                                          2(1-2)
             Electrical Installations,
                
การติดตั้งไฟฟ้าภายในอาคาร การติดตั้งดภายนอกอาคารคุณสมบัติและการ ใช้งานของอุปกรณ์ชนิดต่าง ๆ สวิตซ์เกียร์ รีเลย์ป้องกันเครื่องกลไฟฟ้า
             อุปกรณ์ป้องกันฟ้าผ่า อุปกรณ์ป้องกันการลัดวงจร การวางแผนสร้างตู้สวิตซ์บอร์ดการวางแผนการ เดินสาย การปักเสาพาดสาย การติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้า
             และปฏิบัติงานตามรายวิชา

5644202 การออกแบบการติดตั้งระบบไฟฟ้าและการประมาณราคา                                                                                                        3(2-2)
             Electrical System Installations Design and Cost Estimation
               
ศึกษาเกี่ยวกับสัญลักษณ์ความปลอดภัย มาตราฐานการติดตั้ง การเลือกอุปกรณ์ไฟฟ้า การออกแบบระบบแสงสว่างในบ้าน ระบบไฟฟ้ากำลังในโรงงาน
             อุตสาหกรรม การคิดค่าแรงงาน การประมาณราคา และการปฏิบัติงานตามรายวิชา

5644203 เทคโนโลยีเครื่องยนต์สันดาปภายใน                                                                                                                                          3(3-0)
             Internal Combustion Engines Technology
                
วัฎจักรอากาศมาตรฐาน และวัฎจักรอากาศจริง เชื้อเพลิงสันดาปภายใน พิกัดสำคัญเครื่องยนต์ เครื่องยนต์จุดประกายไฟ เครื่องยนต์จุดระเบิดด้วยแรง
             อัด วัฎจักรอากาศเชื้อเพลิงอุดมคติ ซูเปอร์ชาร์จ การน็อค และอัตราการน็อค ส่วนผสมไอดี การบรรจุไอดี และการคายไอเสีย โครงสร้างและองค์ประกอบ
             ของเครื่องยนต์ การทดสอบ การหล่อลื่น ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5644204 กังหันแก๊ส                                                                                                                                                                                    3(3-0)
             Bas Turbine
                
วัฎจักรทางอุณหพลศาสตร์ของกังหันแก๊ส การทำงาน และประสิทธิภาพเครื่องยนต์ของเครื่องบิน กังหันแก๊สแบบใบพัด เครื่องยนต์กังหันไอพ่น
             เครื่องยนต์ไอพ่นแบบลัดผ่าน(Bypass) เครื่องยนต์กังหันไอพ่นแบบความเร็วมากกว่าความเร็วของเสียง และองค์ประกอบที่เหมาะสม

5644205 เทคโนโลยีวิศวกรรมยานยนต์                                                                                                                                                    3(3-0)
             Automotive Engineering Techology
                
ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะ หน้าที่การทำงานชิ้นส่วนยานยนต์ ตัวรถและแท่นเครื่อง ระบบเบรค ระบบพวงมาลัย การคำนวณหาแรงขับเคลื่อน ระบบแหนบ
             และแรงต้านทานการเคลื่อนที่ สมรรถนะและคุณลักษณะของเครื่องยนต์ การทรงตัว ล้อหน้า และการบังคับเลี้ยวของรถขณะเคลื่อนที่ไปในทิศทางตรง และ
             ทางโค้งพลศาสตร์ของเบรค กลไกและระบบส่งกำลังแบบส่งผ่านคลัช และการส่งกำลังผ่านของเหลว อุปกรณ์ยานยนต์ และองค์ประกอบในการทำงาน

5644206 วิศวกรรมแทรกเตอร์การเกษตร                                                                                                                                               3(3-0)
             Agricultural Tractors Engineering
               
หลักการออกแบบเครื่องจักรกล หน้าที่ที่ต้องการเกี่ยวกับสร้าง และการปฏิบัติงานในฟาร์มของแทรกเตอร์ โดยเน้นกลไกของโครงสร้าง พร้อมทั้งเครื่อง
             ยนต์และล้อ ระบบการส่งถ่ายของแทรกเตอร์ ระบบการควบคุมด้วยไฮดรอลิกส์

5644207 เครื่องจักรกลการก่อสร้าง                                                                                                                                                         2(1-2)
             Construction Machinery
                    
ศึกษาประเภทและชนิดของเครื่องจักรกลการก่อสร้าง ลักษณะการทำงาน ความสามารถในการทำงาน การเลือกใช้เครื่องจักรกลในการก่อสร้าง วิธีใช้
             อุปกรณ์การบำรุงรักษา ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน เทคโนโลยีใหม่ ๆ เกี่ยวกับเครื่องจักรกล การก่อสร้าง และการจัดการบริหารเครื่องจักรกลการก่อ
             สร้าง ให้มีการสาธิตและปฏิบัติการตามความเหมาะสม

5644301 เทคโนโลยีคอนกรีต                                                                                                                                                                     3(2-2)
             Concrete Technology
              
ศึกษาชนิดและองค์ประกอบคอนกรีต การยกย้ายและการเก็บ การทดสอบเพื่อตรวจรับ ข้อกำหนดมาตราฐานเฉพาะ คุณสมบัติคอนกรีต การใช้งานของ
             ซีเมนต์มวลรวมละเอียด มวลรวมหยาบ การควบคุมดภาพ คอนกรีต คอนกรีตชนิดพิเศษ สารเคมีผสมเพิ่ม เหล็กเสริมคอนกรีต การออกแบบ ส่วนผสม
             คอนกรีตให้เหมาะสมกับงานเทคอนกรีตขนาดใหญ่ การเทคอนกรีตใต้น้ำ รอยต่อ การแก้ปัญหาต่าง ๆ ของานอัดฉีดน้ำยาเมื่อเกิดรอยร้าว การทดสอบ
             คอนกรีต และองค์ประกอบคอนกรีต วิธีพิเศษของงานคอนกรีต ให้ปฏิบัติการตามความเหมาะสม

5644302 เทคโนโลยีคอนกรีตอัดแรง                                                                                                                                                      3(2-2)
             Pre-stressed Concrete Technology
                
ความหมายคำว่า “คอนกรีตอัดแรง” ศึกษาคุณสมบัติวัสดุที่ใช้ผลิต ระบบการอัด การสูญเสียแรงอัด การวิเคราะห์ และการออกแบบส่วนที่โค้งงอ แรง
             เฉือน ตัวยึดและตำแหน่งที่ตั้ง ความโก่งและความนูน วิธีการออกแบบโครงสร้าง กรรมวิธีการผลิตคอนกรีตอัดแรงชนิดดึงลวดก่อน (Pre-tension) และ
             การดึงลวดภายหลัง (Post-tension) วัสดุสำคัญที่ใช้ในการผลิตคอนกรีตอัดแรง ศึกษาการออกแบบโครงสร้างคอนกรีต อัดแรง เพื่อกันแรงดัด แรงเฉือน
             แรงบิด และแรงยึดเหนี่ยว

5644401 ฟิสิกส์ของสารกึ่งตัวนำ                                                                                                                                                               3(2-2)
             Semiconductor Physics
              
สถานะผลึก แนวความคิดทางกลศาสตร์เชิงควอนตัม อิเล็กทรอนิกส์ในผลึก การนำไฟฟ้าของผลึก การวิเคราะห์โดยอาศัยหลักการทางสถิติ ระดับเฟอร์               
             มิตัวให้และ ตัวรับอิเล็กตรอน ความหนาแน่น ของประจุพาหะในสภาวะที่สมดุลและไม่สมดุล รอยต่อ พี-เอ็น การนำไฟฟ้าของผลึกเมื่อมีสนามไฟฟ้าต่ำและ
             สูง ผิวหน้าต่าง ๆ ของสารตัวนำ แถบพลังงาน และประจุนำพาหะในสารกึ่งตัวนำ ประจุส่วนเกินในสารกึ่งตัวนำไดโอด จังชั่น ไดโอดทันแนล ไดโอดแสดง
             หรือแอลอีดี ทรานซิสเตอร์สองขั้ว ทรานซิสเตอร์ผลสนาม และทรานซิสเตอร์มอส ไดโอดยูเจที และไดโอดพีเอ็น วงจรไอซีกับการออกแบบและการ
             วิเคราะห์ ให้มีการสาธิตและปฏิบัติการตามเหมาะสม

5644402 สเปกโทรสโกปีของโมเลกุล                                                                                                                                                            3(3-0)
             Molecular Spectroscopy
                
ระดับพลังงานที่ปล่อยออกมาจากการเกิด Electron Transition แถบรังสีวิทยา ที่เกิดจากการสั่นสลัด (Vibrational Soectriscopy) แถบรังสี
             วิทยาของ Microwave, Ekectrib Spin, Resonance และ Nuclear Spin Resonance ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5644403 รังสีวิทยาและการวัดรังสี                                                                                                                                                              3(2-2)
             Radiology and Radiation Measurement
              
ศึกษาเกี่ยวกับ Basic Wave Mechanics หลักการแผ่รังสี การตรวจวัดปริมาณรังสี โดยมุ่งให้เข้าใจประโยชน์ของรังสีที่มีต่อการแพทย์ การ
             เกษตรและการอุตสาหกรรมกิจกรรมนิวเคลียร์ ผลผลิต โทษของรังสี การป้องกัน และปัญหาทางรังสีวิทยากับสภาวะแวดล้อม และชีวิต ทฤษฎีต่างๆ คลื่น
             เป็นอนุภาคได้ Planck’s Quantum Theory of Black Body Radiation ปรากฎการณ์โฟโตอิเล็กตริ รังสีเอกซ์ X – ray Diffraction ปรากฎการณ์
             ควอนตัม อนุภาคพื้นฐานต่างๆ การประยุกต์ใช้ฟิสิกส์ยุคใหม่ การวัดรังสีให้มีการสาธิต และปฏิบัติการตามความเหมาะสม

5644404 สเปกตรัมอะตอม                                                                                                                                                                          3(3-0)
             Atomic Spectra
              
ศึกษาแถบรังสีของอะตอมที่เกิดจากธาตุชนิด Two Valence Electrons การศึกษารูปชั้นพลังงานแบบ Fine Structure, Hyperfine
             Structure ผลกระทบแบบซีมาน (Zeeman Effect) ผลกระทบแบบ Parshen-Back แถบรังสี แบบผสมจากอะตอม (Complex Spectra
             Radiation) ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5644405 การวิเคราะห์ผลึกด้วยรังสีเอกซ์                                                                                                                                               3(3-0)
             X-ray Crystallography Analysis
               
รังสีเอกซ์ในธรรมชาติ และที่ประดิษฐ์ขึ้น พลังงานของรังสีเอกซ์ที่มีความยาวคลื่นขนาดต่างๆ การดูดกลืนรังสีเอกซ์ ความปลอดภัย และการป้องกันรังสี
             เอกซ์ หลักการเลี้ยวเบน (X – ray Diffraction) กฎของแบรกก์ ดัชนีมิลเลอร์ ทฤษฎีการเลี้ยวเบนเชิงเรขาคณิตของรัสีเอกซ์ Reciprocal Lattice,
             Direct and Reciprocal ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5644406 ระบบควบคุมการผลิตด้วยคอมพิวเตอร์                                                                                                                                   3(2-2)
             Computer Aided Manufacturing Control Systems
              
  ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการผลิต ด้วยการใช้โปรแกรมควบคุมเครื่องมือกลอัตโนมัติในระบบการผลิต การควบคุมเครื่องมือกลด้วยระบบตัวเลข หุ่นยนต์
             อุตสาหกรรม ระบบการผลิตแบบกึ่งอัตโนมัติ (F.M.S.) Cad Cam Pert และ C.P.M.

5644407 เทคโนโลยีการควบคุมอัตโนมัติ                                                                                                                                                  3(3-0)
             Automatic Control Technology
                
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการควบคุมอัตโนมัติ การวิเคราะห์ การตอบสนองที่ขึ้นกับช่วงเวลาและความถี่ เช่น ไฮโดรเจนและนิวแมติก ความร้อน ไฟฟ้าและ
             เครื่องกล การวิเคราะห์ระบบควบคุมเชิงเส้น การเขียนกราฟการไหลของสัญญาณ ฟังก์ชันโอนย้าย การหาฟังก์ชั่นโอนย้ายแบบ วงรอบปิด และวงรอบเปิด
             วิธีวิเคราะห์การตอบสนอง ที่ไม่เสถียรภาพของระบบ โดยวิธีเราธ์ไครทีเรียน วิธีโพลาพลอทและวิธีโบเดพลอท วิธีการควบคุมแบบสัดส่วน แบบอนุพันธ์
             แบบรวมและแบบผสม

5644408 เทคโนโลยีวิศวกรรมความสว่าง                                                                                                                                                3(3-0)
             Illumination Engineering Technology
                    
พฤติกรรมของแสง การกำเนิดแสง กฎการส่องสว่าง การวัดการส่องสว่าง แหล่งกำเนิดแสงและองค์ประกอบ การส่องรังสีจากไฟฟ้าที่มีไส้หลอด การนำ
             แก๊สหลอดเรืองแสง ความเหมาะสมของความสว่าง การเลือกใช้งาน ชนิดและหน้าที่ของดวงโคม คุณสมบัติทางแสงของวัสดุที่ใช้ทำอุปกรณ์ การคำนวณ
             และการออกแบบระบบแสงสว่างภายในอาคาร การออกแบบแสงสว่างภายในและภายนอกอาคาร

5644409 เทคนิคการออกแบบระบบไฟฟ้า                                                                                                                                                 3(3-0)
             Electrical Systems Design Technique
               
ชนิดของระบบไฟฟ้า ระบบไฟฟ้าในประเทศไทย การวางผัง หลักการออกแบบระบบไฟฟ้ากำลัง ข้อกำหนดพื้นฐาน เฟเซอร์ไดอะแกรม อุปกรณ์ไฟฟ้า
             สัญลักษณ์ และวงจร ระบบแสงสว่างสำหรับอาคาร มอเตอร์และการควบคุมหม้อแปลงไฟฟ้ากำลัง การออกแบบระบบไฟฟ้าโดยวิธีทั่วไป และโดยระบบ
             คอมพิวเตอร์ สำหรับที่พักอาศัย ธุรกิจการค้า โรงแรม โรงงานอุตสาหกรรม ฯลฯ ทั้งนี้ต้องคำนึงถึงความปลอดภัย ประหยัดสวยงาม และมีประสิทธิภาพ ให้
             มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5644410 การส่งกำลังของเครื่องจักกลไฟฟ้า                                                                                                                                           3(3-0)
             Electric Drives
              
การพัฒนาการส่งกำลังไฟฟ้า กำลังที่ทำให้เกิดการหมุนเพื่อส่งกำลังไฟฟ้า ชนิดและหน้าที่การทำงาน วิธีการหยุดมอเตอร์ พลังงานที่ใช้ในการหยุดและ
             การเริ่มเดินเครื่องการคำนวณ การหมุนมอเตอร์โดยวิธีวิเคราะห์และวิธีกราฟ ชนิดของมอเตอร์ที่สำคัญ ๆ วงจรควบคุมและวิธีควบคุมมอเตอร์ การคำนวณ
             การใช้งานของมอเตอร์ไฟฟ้าในโรงงานอุตสาหกรรม

5644411 เทคโนโลยีระบบควบคุมแบบป้อนกลับ                                                                                                                                       3(3-0)
             Feedback Control Systems Technology
               
คำจำกัดความ ผลการแปลงลาปลาซ ระบบควบคุมแบบแบบปิดและเปิด การแทนระบบ และการจำลองระบบทางคณิตศาสตร์ แผนภาพ กราฟ การไหล
             ผลตอบสนอง ช่วงเวลา การวิเคราะห์เสถียรภาพ ช่วงความถี่โดยวิธี Nyauist, Routh-Hurwitx Critenrion สัดส่วนต่อเนื่อง การวิเคราะห์เสถียรภาพ
             และผลตอบสอนงจากช่วงความถี่ การสร้างและวิเคราะห์เส้นทางราก โดยวิธีของโบด และแผนภูมิ Nichol กิริยาการควบคุมเบื้องต้นและค่าชดเชยในการ
             แก้ไข

5644412 เทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้าแรงดันสูง                                                                                                                                         3(3-0)
             High Voltage Engineering Technology
               
ความหมายของวิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง การผลิตไฟฟ้าแรงสูง และการใช้ประโยชน์ เทคนิคการวัดแรงดันสูง สนามไฟฟ้าและเทคนิคการฉนวน
             ดีสชาร์จใน ก๊าซเบรคดาวน์ในไดอิเล็กทริกเหลวและไดอิเล็กทริกแข็ง การใช้ฉนวนสำหรับอุปกรณ์ไฟฟ้า ฟ้าผ่าและการป้องกัน การทดสอบวัสดุและ
             อุปกรณ์ไฟฟ้าแรงสูง

5644413 ระบบควบคุม                                                                                                                                                                             3(3-0)
             Control Systems
                 
ทบทวนเมตริกซ์ เวกเตอร์สเปซเชิงเส้น ไอเกนเวกเตอร์ ระบบไดนามิกส์ ศึกษาวิธีป้อนสัญญาณกลับและการประยุกต์ วิธีการจำลองแบบบล็อค
             ไดอะแกรม กราฟ การไหลของสัญญาณโบเดพลอท ไนควิสไดอะแกรม หลักการของการควบคุมและ การสังเกตความมั่นคงของระบบเชิงเส้นและ
             ไม่เป็นเชิงเส้น ทฤษฎีเราธ์ การวิเคราะห์ เวลาต่อเนื่องและดิสครีต วงจรปิด คุณสมบัติการป้อนกลับ ข้อกำหนดของการทำงาน ผลสนองตอบความถี่
             วิธีเส้นทางรกสำหรับการวิเคราะห์และการออกแบบ รวมทั้งการ ชดเชย การแปรสภาวะต่างๆ การออกแบบระบบควบคุมป้อนกลับเชิงเส้น ระบบควบคุม
             ที่ดี และให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5644414 เทคนิคการป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง                                                                                                                                        3(3-0)
             Electric Power System Protection Technique
               
ปัญหาทั่วๆ ไปในระบบ หลักการเบื้องต้น และองค์ประกอบของการป้องกันหลักการปฏิบัติการการประยุกต์ใช้รีเลย์ ระบบการป้องกันเมื่อไฟฟ้าลัดวงจร
             เครื่องมือป้องกัน การกำหนดค่ารีแอคแตนซ์ ฟิวส์ รีเลย์สถิต หลักการและคุณลักษณะของวงจรเบรคเกอร์ และการออกแบบ การป้องกันระบบจ่าย ระบบส่ง
             และอุปกรณ์ป้องกันฟ้าผ่าแรงดันก่อเกิดกระแสวิ่งไหลลงดินและลัดวงจร ทฤษฎีการแยกวงจร วงจรเบรคเกอร์แบบแอร์บัส การพัฒนาวงจรเบรคเกอร์
             ข้อควรพิจารณาในการออกแบบวงจรเบรคเกอร์ การทดสอบวงจรเบรคเกอร์และการบำรุงรักษา

5644415 การผลิต การส่ง และการจ่ายกำลังไฟฟ้า                                                                                                                                  3(3-0)
             Electric Power Generation, Transmission and Distribution
              
ระบบไฟฟ้ากำลัง ระบบการผลิตไฟฟ้า ประเภทของโรงงานไฟฟ้า หลักการและการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า และหม้อแปลงไฟฟ้า การควบคุม
             และป้องกันระบบการผลิตไฟฟ้าแบบต่าง ๆ การคำนวณโหลด และค่าคงที่ในระบบสายส่ง การแก้สมการและการใช้ตารางเพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ ระบบส่งจ่าย
             และจำหน่ายพลังงานไฟฟ้า การวางผังสถานีไฟฟ้าย่อย การเดินสายในระบบส่งกำลังของแรงดันขนาดต่าง ๆ โดยคำนึงถึงระยะทาง พารามิเตอร์ของสายส่ง
             ไฟฟ้า ความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันขนาดต่าง ๆ โดยคำนึงถึงระยะทาง พารามิเตอร์ของสายส่งไฟฟ้า ความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันและกระแสในสายส่ง
             พลังงานไฟฟ้าต้นทางและ ปลายทาง การออกแบบเพื่อการผลิต สายจำหน่ายพลังงานไฟฟ้า สายเคเบิลใต้ดิน รีแอกซ์แตนซ์ไดอะแกรม ระบบเปอร์ยูนิต
             การตรวจสอบและการบำรุงรักษาอุปกรณ์แบบต่าง ๆ

5644416 ระบบควบคุมแบบดิจิตอล                                                                                                                                                         3(3-0)
             Digital Control Systems
               
ศึกษาสัญญาณและระบบเชิงเลข (Digital) สมการผลสืบเนื่อง การแปลงลาปลาซการแปลงฟูเรียร์ การแปลงดีสครีต การแปลงฟาสท์ฟูเรียร์ โครงสร้าง
             ดิจิตอล ฟิลเตอร์ การออกแบบระบบ การวิเคราะห์ระบบควบคุม และความคลาดเคลื่อน การประยุกต์ ใช้งานของการประมวลผลสัญญาณเชิงดิจิตอลในด้าน
             การสื่อสาร การควบคุมในงานทางอุตสหกรรม และอื่น ๆ อย่างเหมาะสมและทันสมัย ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5644417 เทคนิคการวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลัง                                                                                                                                     3(3-0)
             Electric Power System Analysis Technique
                 
ศึกษาความเป็นมาของระบบไฟฟ้ากำลัง การผลิตพลังงานไฟฟ้า การส่งจ่าย ไฟฟ้า การป้องกันระบบ กำลังไฟฟ้าในวงจร AC เฟสเดียว กำลังไฟฟ้า
             สมดุลในวงจร AC สามเฟส ปริมาณต่อหน่วย อิมพีแดนซ์ของสายส่ง ชนิดของตัวนำ นิยามของ อิมพีแดนซ์ อิมพีแดนซ์ของลวดสองเส้นเฟสเดียว คาปาซิ
             แตนซ์ของสายส่ง สนาม ไฟฟ้าของตัวนำเส้นตรงยาว ความต่างศักย์ระหว่างจุดสองจุด เนื่องจากประจุคาปาซิแตนซ์ของลวดสองเส้น ผลของการเอิร์ธในคา
             ปาซิแตนซ์ของสายส่งสามเฟส ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสและโวลเตจในสายส่ง การจำลองแบบของระบบ การคำนวณโครงข่าย การแก้ปัญหาและการ
             ควบคุมโหลดโฟลว์ การดำเนินการทางเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับระบบไฟฟ้ากำลัง ข้อบกพร่องของสมมาตรของไฟฟ้าสามเฟส องค์ประกอบของการสมมาตร
             ข้อบกพร่องของความไม่สมมาตร การป้องกันระบบ และเสถียรภาพของระบบไฟฟ้ากำลัง

5644418 การแปรรูปพลังงานกลไฟฟ้า                                                                                                                                                  3(3-0)
             Electromechanical Energy Conversion
                
แรงแม่เหล็ก แรงเคลื่อนแม่เหล็กไฟฟ้าเหนี่ยวนำ กระแสอลวนและ ฮิสเทอริซิสหลักการแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับ
             การหมุนของเครื่องจักรกลไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับ การพันขดลวด คุณลักษณะของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับ อุปกรณ์
             ควบคุมมอเตอร์และเครื่องกำเนิดไฟฟ้าแบบซิงโครนัส คุณลักษณะของมอเตอร์เหนี่ยวนำเฟสเดียวและสามเฟส หลักการเริ่มเดินเครื่องของการ
             แปรสภาพพลังงานกล ไฟฟ้าของมอเตอร์เหนี่ยวนำและเครื่องกำเนิดไฟฟ้า

5644419 โรงจักรไฟฟ้าต้นกำลังและสถานีย่อย                                                                                                                                       3(3-0)
             Electric Power Plant and Substation
                
ระบบโรงจักรต้นกำลัง การเปลี่ยนแปลงพลังงาน การพิจารณาโหลด การเลือกชนิดของโรงจักรและจำนวนหน่วยผลิต โรงจักรไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ ได้แก่
             โรงจักรดีเซล โรงจักรกังหันไอน้ำ โรงจักรกังหันก๊าซ โรงจักรพลังงานความร้อนร่วม โรงจักร พลังงานนิวเคลียร์ โรงจักรพลังงานน้ำ กังหันลม กังหันน้ำ
             การออกแบบโรงจักรไฟฟ้า การร่วมกันจ่ายโหลดของโรงจักรไฟฟ้าไอน้ำและพลังน้ำ อุปกรณ์หลักของโรงจักร อุปกรณ์ควบคุมและการเชื่อมต่อโรงจักร
             อุปกรณ์ป้องกันโรงจักร เศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับโรงจักรต้นกำลัง นวัตกรรมเกี่ยวกับโรงจักรและพลังงานทดแทน

5644420 วิศวกรรมโรงจักรต้นกำลัง                                                                                                                                                        3(3-0)
             Power Plant Engineering
               
ระบบโรงจักรต้นกำลัง การเปลี่ยนแปลงพลังงาน การพิจารณาโหลด การเลือกชนิดของโรงจักรและจำนวนหน่วยผลิต โรงจักรไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ ได้แก่
             โรงจักรดีเซล โรงจักรกังหันไอน้ำ โรงจักรกังหันก๊าซ โรงจักรพลังงานความร้อนร่วม โรงจักร พลังงานนิวเคลียร์ โรงจักรพลังงานน้ำ กังหันลม กังหันน้ำ
             การออกแบบโรงจักรไฟฟ้า การร่วมกันจ่ายโหลดของโรงจักรไฟฟ้าไอน้ำและพลังน้ำ อุปกรณ์หลักของโรงจักร อุปกรณ์ควบคุมและการเชื่อมต่อโรงจักร
             อุปกรณ์ป้องกันโรงจักร เศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับโรงจักรต้นกำลัง นวัตกรรมเกี่ยวกับโรงจักรและพลังงานทดแทน อุปกรณ์และการ ควบคุมโรงจักรไฟฟ้าต้น
             กำลัง ให้มีการสาธิตและปฏิบัติการตามความเหมาะสม

5644501 อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้แสง                                                                                                                                                               3(2-2)
             Opto – Electronics
               
พลังงานอะตอม สภาพชั้นพลังงานอะตอม การคายแสงแบบต่าง ๆ แหล่งกำเนิดแสง ทฤษฎีโฟตอนและอันตรกิริยาของรังสีกับสสาร กฎการแผ่รังสี การ
             นำไฟฟ้าด้วยแสงออปติคอลไฟเบอร์ เวฟไกด์ ไดโอดแปล่งแสง ผนึกเหลวโฟโตโอด โฟโตทรานซิสเตอร์ หลักการของเลเซอร์ แสงโคฮีเรนท์ เลเซอร์แก๊ส
             เลเซอร์ของแข็ง เลเซอร์กึ่งตัวนำ การประยุกต์ใช้เลเซอร์ด้านต่าง ๆ ให้มีการปฏิบัติการตามความเหมาะสม

5644502 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ประยุกต์                                                                                                                                                             3(2-2)
             Applied Nuclear Physics
               
การประยุกต์ทฤษฎีการกระเจิง ลักษณะ สมบัติของหัววัดรังสีชนิดต่าง ๆ และการประยุกต์ หลักการของการวัดการแผ่รังสีของนิวเคลียร์ การประยุกต์
             ฟิสิกส์นิวเคลียร์ในอุตสาหกรรม ให้มีการสาธิตและปฏิบัติการตามความเหมาะสม

5644503 ฟิสิกส์เลเซอร์                                                                                                                                                                              3(2-2)
             Laser Physics
                
แสงและการเกิดแสงเมื่อถูกกระตุ้น ออปติคอลเรโยเนเตอร์ เลเซอร์แบบ ต่าง ๆ เลเซอร์กำลังสูง การรวมลำแสงเลเซอร์ โฮโลกราฟี่ การมอดดูเลชั่น
             การนำเลเซอร์ไปใช้ในงานอุตสาหกรรม การแพทย์และการสื่อสาร การแผ่รังสีโดยการดูดกลืน และการปล่อยสัมประสิทธิ์ของไอสไตน์ ให้มีการสาธิต
             และปฏิบัติการตามความเหมาะสม

5644504 ทัศนศาสตร์ประยุกต์                                                                                                                                                                   3(2-2)
             Applied Optics
               
ศึกษาสมบัติทางแสงของฟิล์มบางของโลหะและสารไดอิเล็กทริก การประยุกต์ในทัศนศาสตร์ การวัดและการตรวจสอบความหนาของฟิล์มบาง
             ฮโลกราฟี และการประยุกต์ใช้ในงานอุตสาหกรรม ให้มีการสาธิตและปฏิบัติการตามความเหมาะสม

5644505 อุณหพลศาสตร์ประยุกต์                                                                                                                                                            3(2-2)
             Applied Thermodynamics
                
กระบวนการที่สมดุล และไม่สมดุลในแก๊สอุณหภูมิสูงที่ใช้กับระบบที่มี ปฏิกิริยาทางเคมี การถ่ายเทพลังงาน ปัญหาการเคลื่อนย้าย คุณสมบัติกายภาพ
             ของเลเซอร์ การวิเคราะห์แถบคลื่นแสงของเปลวไฟ และอื่น ๆการระเหย การกลั่นตัว นิวคลีเอชั่น การเกิดฟอง การระเหิด การไหลแบบ 2 สถานะ ให้มี
             การสาธิตและปฏิบัติการตามความเหมาะสม

5644506 เทคโนโลยีเครื่องทำความเย็นและเครื่องปรับอากาศ                                                                                                                 3(2-2)
             Refrigerator and Air Conditioner Technology
              
หลักการทำความเย็น วัฎจักรการทำความเย็น ระบบวงจรเครื่องทำความเย็นแบบต่าง ๆ คุณสมบัติของสารทำความเย็น ห้องเย็นและห้องแช่เย็น
             คอมเพรสเซอร์ คอนเดนเซอร์ ชุดควบคุมน้ำยา อีวาพอเรเตอร์ อุปกรณ์ของระบบน้ำยา และน้ำมันหล่อลื่น pH ไดอะแกรม ตู้เย็นและตู้แช่ ระบบไฟฟ้า
             หม้อแปลงมอเตอร์ วงจรไฟฟ้า และอุปกรณ์ควบคุม หลักการของเครื่องปรับอากาศ วงจรอากาศ ไซโครเมตริก ชนิดของเครื่องปรับอากาศและการ
             คำนวณขนาดเครื่องปรับอากาศ และภาระความเย็นในระบบปรับอากาศ ท่อทางเดินน้ำยาและการต่อท่อ การติดตั้งเครื่องปรับอากาศ เครื่องมือซ่อม
             การแก้ไขข้อบกพร่อง การซ่อม และบริการ ให้มีการสาธิตและปฏิบัติการตามความเหมาะสม

5644507 นิวเคลียร์อิเล็กทรอนิกส์                                                                                                                                                               3(3-0)
             Nuclear Electronics
               
ทฤษฎีการวัดอนุภาคนิวเคลียร์ หัววัดรังสีแบบต่าง ๆ และการทำงานของหัววัด ระบบวัดเพื่ออ่านค่าปริมาณความเข้มรังสี ระบบวัดเพื่อวิเคราะห์ระดับ
             พลังงาน อุปกรณ์ วัดนิวเคลียร์อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น แหล่งจ่ายศักย์ไฟฟ้าสูง อุปกรณ์ขยายสัญญาณ อุปกรณ์นับและเวลา เรทมิเตอร์ อุปกรณ์วิเคราะห์
             ระดับพลังงาน เครื่องวัดนิวเคลียร์แบบเคลื่อนที่ ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5644508 พลังงานนิวเคลียร์                                                                                                                                                                        3(2-2)
             Nuclear Energy
              
ฟิสิกส์ของนิวเคลียร์ ปฎิกิริยานิวเคลียร์ เตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ และกำลังงานนิวเคลียร์ คุณและโทษของพลังงานนิวเคลียร์ การแตกตัวของนิวเคลียร์
             การรวมตัวของนิวเคลียร์ และการจัดสัมมนา ให้มีการสาธิตและปฏิบัติการตามความเหมาะสม

5644509 เทคโนโลยีการผลิต                                                                                                                                                                       3(3-0)
             Production Technology
              
ศึกษาการผลิต ผลิตภัณฑ์โลหะ และชิ้นส่วนเครื่องกลด้วยกระบวนการแปรรูปโลหะแบบต่าง ๆ เช่น งานขึ้นรูปโลหะแผ่น งานเชื่อมโลหะ การแปรรูป
             ด้วยเครื่องมือกลและการหล่อโลหะ ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5644510 การวิจัยเชิงปฏิบัติการ                                                                                                                                                                 3(3-0)
             Operations Research
               
ความหมาย แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ การจัดสรรทรัพยากร โปรแกรมเชิงเส้น ปัญหาการขนส่ง ปัญหาการจัดหางาน ทฤษฎีความน่าจะเป็น ทฤษฎี
             การตัดสินใจ กระบวนการมาร์คอฟ ทฤษฎีแถวคอย ทฤษฎีการแทนที่ ทฤษฎีเกมส์ ทฤษฎีพัสดุคงคลัง การจำลองสถานการณ์ การวิเคราะห์ข่ายงาน การ
             กำหนดขั้นตอนของงาน การจัดสายบริการ การเขียนโปรแกรมเพื่อปฏิบัติการ

5644511 วิศวกรรมคุณค่า                                                                                                                                                                          3(3-0)
             Value Engineering
                
ศึกษาวิธีการของวิศวกรรมคุณค่า และรู้จักประยุกต์ใช้เทคนิคของวิชานี้ เพื่อการออกแบบผลผลิตทางอุตสาหกรรมอย่างมีขั้นตอน ทั้งนี้เพื่อให้ได้มาซึ่ง
             ผลประโยชน์ สูงสุดในการผลิต เช่น สามารถลดต้นทุนการผลิต แต่คุณภาพยังดีเลิศ การใช้วิศวกรรมคุณค่าในงานอุตสาหกรรม

5644512 การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ                                                                                                                                    3(3-0)
             Feasibility Study in Project
                
ศึกษาองค์ประกอบที่สำคัญอย่างจริงจังเพื่อประกอบการตัดสินใจในการลงทุนทางอุตสาหกรรม การวางแผนทางเศรษฐกิจ และการพัฒนาทาง
             วิศวกรรม การทดสอบแผน ศึกษาข้อมูลและการวิเคราะห์ การวัดผลทางเศรษฐศาสตร์ ฐานะการเงินและการเตรียมการรายงานโครงการแบบกลุ่ม

5644513 การดำเนินงานในโรงงานอุตสาหกรรม                                                                                                                                    3(3-0)
             Industrial Plant Operations
                    
ศึกษาหน่วยของการดำเนินงานแบบต่าง ๆ ที่พบในงานผลิตทั่วไป และใน โรงงาน เครื่องกลสันดาปภายในปั๊ม การกรอง การไหลรั่ว การแยกแยะ
             เครื่องมือที่ใช้ระบบไฮดรอลิกและนิวแมติก

5644514 การควบคุมคุณภาพทางอุตสาหกรรม                                                                                                                                        3(3-0)
             Industrial Quality Control
               
ประวัติเบื้องต้น คำจำกัดความและความหมาย การรวบรวมข้อมูล หลักการเบื้องต้นในการควบคุมคุณภาพ นำเอาเทคนิคทางวิชาสถิติเข้ามาช่วย การ
             ตรวจสอบผลการผลิต การเขียนไดอะแกรม และฮิสโตแกรมว่าอยู่ในช่วงที่เสียหรือดี จากแผนการ สุ่มตัวอย่างแบบต่าง ๆ การใช้เทคนิคในการบำรุงขวัญ
             คนงานเพื่อเพิ่มคุณภาพในการผลิต ตลอดจนแผนการบริหาร การออกแบบ ค่าความเชื่อมั่น การหาค่าความเชื่อมั่น วิธีการควบคุมคุณภาพแบบ TPM,
              TQC, TQM, ISO, QS, MIL, Reengineering และให้จัดกิจกรรมต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม เช่น กิจกรรม 5 ส.และ QCC

5644515 การวิเคราะห์ต้นทุนทางอุตสาหกรรมและงบประมาณ                                                                                                              3(3-0)
             Industrial cost Analysis and Budgeting
              
ความสัมพันธ์ระหว่าง ต้นทุน จำนวน และกำไร การวิเคราะห์ต้นทุนกิจ การอุตสาหกรรม วิธีการคิดต้นทุนสินค้าที่ส่งไปสู่โรงงาน ต้นทุนวัตถุทางตรง
             การคิดค่าแรงงานทางตรง ค่าใช้จ่ายโรงงาน กำลังการผลิต ต้นทุนแปรได้ ต้นทุนวัตถุดิบ ต้นทุนงานสั่งทำ ต้นทุนช่วงการผลิตตามกระบวนการ ต้นทุนแบ่ง
             สรร ต้นทุนมาตรฐาน ต้นทุนผลิตภัณฑ์ร่วม และผลิตภัณฑ์พลอยได้ การคำนวณของเสีย ของสิ้นเปลือง งานมีตำหนิและเศษซาก รายงานทางการเงิน การ
             วิเคราะห์งบดุลทางการเงิน งบประมาณ การผลิตและการขาย งบประมาณฐานศูนย์ การควบคุมงบประมาณและการประเมินผล

5644516 การจัดการงานก่อสร้าง                                                                                                                                                            3(3-0)
             Construction Management
               
งานก่อสร้างอุตสาหกรรม หลักการจัดการ องค์การงานก่อสร้าง สัญญาและการยื่นสัญญา การวางแผนและควบคุมเครื่องมือ กฎหมายเกี่ยวกับการก่อ
             สร้าง และกฎ ข้อบังคับ การรักษาความปลอดภัยในการก่อสร้าง ทฤษฎีการบริหารงาน ก่อสร้างทั่วไป หลักและกระบวนการบริหาร การวางแผนงานก่อสร้าง
             การจัดหน่วยงาน การควบคุม และการตรวจสอบการประสานงาน การทำรายงานการก่อสร้าง การประชาสัมพันธ์ การบริหารการเงิน เครื่องมือและวัสดุก่อ
             สร้าง การบริหารงานบุคคลในงานก่อสร้าง การอ่านแบบ การตรวจสถานที่ปลูกสร้าง การแบ่งกลุ่มงานในส่วนต่าง ๆ ของอาคาร การจัดทำรายการวัสดุก่อ
             สร้าง ขั้นตอนของการประมาณราคาเพื่อหาปริมาณวัสดุก่อสร้าง การคำนวณค่าแรงเพื่อสรุปผลการประมาณราคา ในการก่อสร้างทั่วไป

5644517 การวางแผนและควบคุมการผลิตทางอุตสาหกรรม                                                                                                               3(3-0)
             Production Planning and Control for Industry
               
ศึกษาระบบการผลิต การพยากรณ์ ความต้องการและการกำหนดปัจจัย การผลิต การตรวจสอบและควบคุมการพยากรณ์ การออกแบบระบบการควบคุม
             การผลิต การจัดตารางการผลิตหลัก การควบคุมวัสดุคงคลังและสินค้า ขนาดของการสั่งซื้อ และการผลิตสินค้า การสั่งงาน การควบคุมต้นทุนการผลิต การ
             ประกอบ และการสมดุลของสายงานผลิต การจัดลำดับงานและตารางการผลิต การวางแผน และควบคุมโครงการด้วยวิธี ซีพีเอ็ม และเพอร์ท

5644518 วิศวกรรมระบบเสียง                                                                                                                                                               3(2-2)
             Acoustics Systems Engineering
                
คุณสมบัติของคลื่นในสารยืดหยุ่น การเคลื่อนที่ของคลื่นสนสาร ที่มีขอบเขต การถ่ายทอดคลื่นเสียงในลักษณะระนาบและทรงกลม การเลียนแบบกันระ
             หว่างระบบวงจรไฟฟ้าและเครื่องกล ทรานสคิวเซอร์สำหรับคลื่นเสียง การวัดเกี่ยวกับเสียง ความถี่อุลตร้าโซนิค การกระจายของคลื่นเสียงในห้อง การ
             วิเคราะห์พลังงานเสียงด้วยระบบ วิเคราะห์สเปกตรัม ทฤษฎีของลำโพงและกล่องลำโพง ความสามารถในการส่งผ่านของคลื่นเสียง ตัวขยายและตัวกรอง
             เสียง หลักการของเครื่องช่วยฟังของคนหูหนวก คุณสมบัติต่อสรีรวิทยาของเสียงดังมาก การลดเสียงรบกวน เครื่องวัดระดับเสียง คลื่นเสียงในทาง
             สถาปัตยกรรม การสูญเสียพลังงานของคลื่นเสียง ให้มีการสาธิตและปฏิบัติการตามความเหมาะสม

5644519 เทคนิคการออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์                                                                                                                                  3(3-0)
             Electronics Circuits Design Technique
               
การออกแบบวงจรเชิงเส้นและวงจรสวิตซ์ โดยใช้ทรานซิสเตอร์ เอฟอี ยูเจที และ พียูที คุณสมบัติของวงจรรวมแบบเชิงเส้นต่าง ๆ และการออกแบบใช้
             งานในวงจรขยายสัญญาณความถี่สูง วงจรเปรียบเทียบ วงจรแหล่งจ่ายไป วงจรกำเนิดสัญญาณ และวงจรเปลี่ยนรูปสัญญาณ การออกแบบเพาเวอร์
             ซัพพลาย ฟังก์ชันเจนเนอเรเตอร์ ฟังก์ชัน การส่งผ่านอาร์ซีโดยใช้ทรานซิสเตอร์แบบไบโพลาร์ เอฟอีที และวงจรเชิงเส้นดัดแปลงอิมพีแดนซ์ลบและ
             ไจเรเตอร์ ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5644520 เทคโนโลยีวิศวกรรมคลื่นจุลภาค                                                                                                                                                3(3-0)
             Microwave Engineering Technology
              
ทฤษฎีไมโครเวฟ การแพร่กระจายคลื่น ท่อนำคลื่น อุปกรณ์ไมโครเวฟ หลอด สร้างคลื่นแมกนิตรอน อุปกรณ์โซลิตสเตท ผลที่เกิดจากสเปซชาร์จ
             ไคลสตรอน การเปรียบเทียบระหว่างสายส่งกับท่อไมโครเวฟ การสั่นของพลาสมา พาราเมตริกแอมปลิไฟเออร์ การกำเนิดและการขยายคลื่นไมโครเวฟ
             ที่เกิดในรอยต่อและในเนื้อของสารกึ่งตัวนำ ระบบไมโครเวฟ การเลือกเส้นทางไมโครเวฟ สถานีทวนสัญญาณ การคำนวณระบบทั้งภาคพื้นดินและ
             ดาวเทียม วงจรต่าง ๆ ในระบบไมโครเวฟ สายอากาศไมโครเวฟ การกระจายคลื่นไมโครเวฟ ระบบไมโครเวฟตามแนวสายตา ระบบไมโครเวฟเหนือ
             เส้น ขอบฟ้า การออกแบบข่ายระบบไมโครเวฟ ตัวอย่างการใช้งานของระบบไมโครเวฟ และการออกแบบระบบสื่อสารไมโครเวฟ ให้มีการสาธิตตาม
             ความเหมาะสม

5644521 เทคโนโลยีระบบการสื่อสารด้วยดาวเทียม                                                                                                                                  3(3-0)
             Satellite Communication Systems Technology
              
ศึกษาระบบการสื่อสารดาวเทียมเบื้องต้น วงโคจรของดาวเทียม โครงสร้างของยานอวกาศ เทคนิคการผสมสัญญาณ การรวมสัญญาณ การเข้ารหัส
             และถอดรหัสของสัญญาณข้อมูล การออกแบบสถานีดาวเทียมภาคพื้นดิน การจัดโครงข่ายของการ สื่อสารทางดาวเทียม ลักษณะของชั้นบรรยากาศ การรับ
             และส่งสัญญาณ การแปลงสัญญาณ วงจรของการอัพลิงค์ และดาวน์ลิงค์ การเคลื่อนที่ของดาวเทียม การพัฒนาของการสื่อสารผ่านดาวเทียม คลื่นวิทยุที่ใช้
             ในระบบดาวเทียม ชนิดของดาวเทียม สื่อสารสถานีรับภาคพื้นดิน สัญญาณรบกวนในระบบดาวเทียม เทคนิคการมอดูเลท ระบบสายอากาศที่ใช้ใน
             ดาวเทียมสื่อสาร ระบบควบคุมดาวเทียมชุดขยายความถี่ เครื่องรับสัญญาณดาวเทียม ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5644522 เทคโนโลยีระบบการสื่อสารด้วยใยแสง                                                                                                                                    3(3-0)
             Optical Fiber Communication Systems Technology
              
พื้นฐานเกี่ยวกับระบบการสื่อสารด้วยแสง และเส้นใยแสง การปล่อยแสงและการแพร่กระจายของแสง ต้นกำเนิดแสงที่ใช้ในระบบการสื่อสาร การผสม
             แสง และการแยกสัญญาณออกจากแสง คุณสมบัติของใยแสงและท่อนำส่ง ระบบการสื่อสารด้วยแสง การมัลติเพล็กซิ่ง และดีมัลติเพล็กซิ่ง หน่วยที่ใช้ในการ
             วัดแสงไฟเบอร์ออปติกแหล่งกำเนิดแสง และอุปกรณ์รับแสงแบบสารกึ่งตัวนำ ผลึกเหลว วงจรต่าง ๆ ของอุปกรณ์ส่งและรับ การผสมและการแยกของระบบ
             ดิจิตอล ระบบสื่อสารแบบออปติก วงจรรวมออปติกและการใช้งาน ระบบสื่อสัญญาณดิจิตอลด้วยเคเบิลใยแสงความเร็วสูง (S.D.H.) และระบบสื่อสารที่ทัน
             สมัย ทันยุคโลกา ภิวัตน์ ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5644523 วิศวกรรมข่ายสายโทรศัพท์ตอนนอก                                                                                                                                        3(2-2)
             Outside Telephone Network Plant Engineering
              
ทฤษฎีการสื่อสารทางโทรศัพท์ ระบบต่าง ๆ ของข่ายสายโทรศัพท์ ชนิดของเคเบิลและการใช้งานในกิจการโทรศัพท์ การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ใน
             การสร้างข่ายสาย การสร้างแนวทางสายเคเบิลต่าง ๆ การแขวนสายสะพาน การแขวนสายอากาศโดยใช้เครื่องพันสาย การแขวนสายเคเบิลอากาศที่มีสาย
             สะพานในตัว ระบบสายเคเบิลใต้ดิน ในท่อร้อยสาย เครื่องมือและวัสดุที่ใช้ในการตัดต่อ ชนิดและโครงสร้างเคเบิล และการนับคู่สาย วิธีการตัดต่อเคเบิล
             ทั่วไป การตรวจสอบคู่สายหลังการตัดต่อแนวการวางข่ายสาย และผลกระทบต่อสังคม ภูมิสถาปัตย์ ศึกษาเทคโนโลยีการวางข่ายสายโทรศัพท์ตอนนอก
             การออกแบบสาย การคำนวณเครื่องควบคุมระบบสายต่อข่ายวงจรโทรศัพท์ แผนผังหมายเลขและสัญญาณ ระบบราคามาตรฐาน คุณสมบัติการส่งระบบต่างๆ
             และการกำจัดเสียงสะท้อน

5644524 เทคโนโลยีวิศวกรรมสายอากาศ                                                                                                                                                    3(3-0)
             Antenna Engineering Technology
               
หลักการเบื้องต้นและคำนิยามเกี่ยวกับสายอากาศ สายอากาศไดโพลขนาดครึ่งความยาวคลื่น สายอากาศเหนือระนาบดินสมบูรณ์ อาร์เรย์สายอากาศ
             แบบสม่ำเสมอ อิมพีแดนซ์เหนี่ยวนำ สายอากาศแบบเส้นลวดและวิธีโมเมนต์ การทดสอบสายอากาศ ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5644525 เทคโนโลยีการออกแบบวงจรความถี่วิทยุ                                                                                                                                    3(3-0)
             Radio Frequency Circuits Design Technology
                     
การออกแบบวงจรขยายย่านความถี่วิทยุ การออกแบบวงจรผลิตสัญญาณในย่านความถี่วิทยุ วงจรขยายสัญญาณผ่านบรอดแบนด์และการแมทชิ่ง วงจร
             ต่าง ๆ วงจรขยายกำลังสัญญาณย่านความถี่วิทยุ เทคนิคการออกแบบและการจัดอุปกรณ์ เงื่อนไขพิเศษในการออกแบบ ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5644526 เทคโนโลยีวิศวกรรมโทรศัพท์                                                                                                                                                   3(3-0)
             Telephone Engineering Technology
              
แนะนำเกี่ยวกับระบบโทรศัพท์ เทคนิคการให้สัญญาณและสวิตชิ่ง ทฤษฎีกราฟิก ข่ายวงจรโทรศัพท์ ระบบสวิตชิ่งแบบกล-ไฟฟ้า ระบบสวิตชิ่งซึ่งควบ
             คุมด้วยคอมพิวเตอร์ ระบบตู้โทรศัพท์ สาขาเทเลค แนะนำเกี่ยวกับการสื่อสาร โดยใช้แสง ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5644527 การประมาณผลสัญญาณแบบดิจิตอล                                                                                                                                        3(3-0)
             Digital Signal Processing
              
ศึกษาเรื่องสัญญาณและระบบเชิงเลข (Digital) ศึกษาทฤษฎีของ Z-Transforms, Fourier Transforms, Discrete Transforms และ
             Fast Fourier Transforms ศึกษา โครงสร้างของ Digital Filter การออกแบบ Digital Filter และการประยุกต์ใช้งานของ Digital Signal
             Processing เช่น Speech, Image Processing และ Telecommunications ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5644528 เทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในยานยนต์                                                                                                                         2(1-2)
             Automotive Electrical and Electronics Technology
                
วงจรจุดระเบิดด้วยอิเล็กทรอนิกส์แบบต่าง ๆ ระบบการทำงานด้วย เล็กทรอนิกส์ในรถยนต์ การทดสอบเครื่องยนต์ด้วยเครื่องมือ การตรวจสมรรถนะ
             ต่าง ๆ ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5644529 เทคนิคการออกแบบวงจรดิจิตอลและลอจิก                                                                                                                              3(2-2)
             Digital and Logic Design Technique
               
พีชคณิตสวิตชิ่ง การวิเคราะห์และสังเคราะห์วงจรเกต พีชคณิตบูลลีน การลดทอนวงจรคอมบิเนชั่นให้น้อยที่สุด การวิเคราะห์และสังเคราะห์วงจร
             ซีเวนเชียล ระบบตัวเลขและรหัส พีชคณิตตูลิ่นฮื้อ การวิเคราะห์และออกแบบวงจรรวม วงจรซีเซียม โครงงานตรรกะ และการประยุกต์ใช้งาน ให้ปฏิบัติการ
             ตามความเหมาะสม

5644530 ระบบการสื่อสารแบบดิจิตอล                                                                                                                                                        3(3-0)
             Digital Communication Systems
               
แสงและสิ่งเร้าในการปลดปล่อยรังสี รีโซเนเตอร์ทางแสง ชนิดของเลเซอร์ เทคนิคการผสมคลื่น เลเซอร์กำลังสูง รูปร่างของลำเลเซอร์ โฮโลกราฟี
             คุณสมบัติ ของระบบดิจิตอล เสียงดิจิตอลไลเซชั่น ดิจิตอลทรานสมิตชั่น และมัลติเพลกซิ่ง การวัดความผิดพลาด ซิงโครไนเซชั่น เรดิโอดิจิตอล ดิจิตอล
             เนทเวอร์ค และโปรโตโคลส์ ความจุช่องสัญญาณ การผสมสัญญาณดิจิตอล การควบคุมความผิดพลาดตอนเข้ารหัส การบันทึกด้วยดิจิตอล ระบบสื่อสัญญาณ
             ด้วยเคเบิ้ลใยแสง ความเร็วสูง (S.D.H.) ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5644531 การควบคุมเสียงและการสั่นสะเทือน                                                                                                                                           3(3-0)
             Vibration and Noise Control
                
พฤติกรรมของคลื่นเสียง อุปกรณ์การวัด และการวัดเกี่ยวกับเสียง ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมเนื่องจากเสียงและการสั่นสะเทือน ข้อกำหนดและเกณฑ์สำ
             หรับควบคุมเสียงและการสั่นสะเทือนในระบบสิ่งแวดล้อม การใช้วัสดุป้องกันเสียงและการ สั่นสะเทือน ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5644532 วิศวกรรมระบบการเกษตร                                                                                                                                                          3(3-0)
             Agricultural Systems Engineering
                
ศึกษากระบวนการเกี่ยวกับการเก็บรักษาหลังการเก็บเกี่ยวในฟาร์ม การเพิ่ม คุณภาพ การเปลี่ยนแปลงรูปแบบ หรือลักษณะผลผลิตในฟาร์ม เน้น
             ความสะอาดและการเลือกใช้เครื่องกล การลดขนาด หลักการทำให้แห้ง ความสัมพันธ์ระหว่างความชื้นหลังเก็บเกี่ยว และอุณหภูมิ เทคนิคการประมวลผล
             ผลิตภัณฑ์ ระบบการยกย้าย การเก็บอุปกรณ์ที่ต้องใช้และการบำรุงรักษา

5644533 เทคโนโลยีเครื่องปรับอากาศ                                                                                                                                                        3(3-0)
             Air Condition Technology
              
หลักการเบื้องต้นของเครื่องปรับอากาศ วัฏจักรการทำความเย็นทาง อุณหพลศาสตร์ เครื่องปรับอากาศชนิดต่าง ๆ ทั้งขนาดเล็ก และขนาดใหญ่ อุปกรณ์
             ควบคุมทางกล และทางไฟฟ้า ระบบไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศ การวิเคราะห์ และศึกษาระบบเครื่องปรับอากาศ การคำนวณภาระความเย็นในระบบเครื่อง
             ปรับอากาศ การติดตั้ง การควบคุม การใช้เครื่องมือซ่อมเครื่องทำความเย็น การตรวจซ่อมและบำรุงรักษาเครื่องปรับอากาศแบบต่าง ๆ ให้มีการสาธิตตาม
             ความเหมาะสม

5644534 การรักษาความปลอดภัยจากรังสี                                                                                                                                                3(2-2)
             Radiological Safety
                
ศึกษาโครงสร้างอะตอม ธาตุกัมมันตรังสี ต้นกำเนิดรังสี อันตรายจากรังสี หน่วยทางรังสี ระดับรังสีที่ถือว่าปลอดภัย ประโยชน์และโทษของรังสี พลัง
             งานนิวเคลียร์ ระเบิดนิวเคลียร์ การคำนวณเกี่ยวกับรังสี หลักการป้องกันรังสี และการขจัดกากกัมมันตรังสี ให้มีการสาธิตและปฏิบัติการตามความ
             เหมาะสม

5644535 การกำบังรังสี                                                                                                                                                                               3(2-2)
             Radiations Shielding
                
ศึกษาคุณสมบัติของรังสี อำนาจทะลุทลวงของรังสีชนิดต่าง ๆ วัสดุที่ใช้ทำเครื่องกำบังรังสี การคำนวณเกี่ยวกับอำนาจทะลุทลวงของรังสี หลักการออก
             แบบเครื่องกำบังรังสี และการเลือกใช้เครื่องกำบังรังสีที่เหมาะสม ให้มีการสาธิตและปฏิบัติการตามความเหมาะสม

5644536 เชื้อเพลิงเครื่องปฏิกรณ์ปรมาณูและวัฏจักรเชื้อเพลิง                                                                                                               3(2-2)
             Reactor Fuels and Fuel Cycles
              
ศึกษาคุณสมบัติของธาตุกัมมันตรังสี ธาตุกัมมันตรังสีที่นิยมใช้ทำเชื้อเพลิง เตาปฏิกรณ์ และประสิทธิภาพในการทำเป็นเชื้อเพลิง อุปกรณ์ต่าง ๆ ในการ
             ผลิตเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ ขั้นตอนต่าง ๆ ในการผลิตเชื้อเพลิง วัฎจักรของเชื้อเพลิง การขจัดการของสารที่ใช้ผลิตเชื้อเพลิง และการจัดการความปลอดภัยใน
             การผลิตเชื้อเพลิง ให้มีการสาธิตและปฏิบัติการตามความเหมาะสม

5644537 การออกแบบโรงไฟฟ้านิวเคลียร์                                                                                                                                                    3(2-2)
             Nuclear Power Plant Design
                
ชนิดของระบบโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ข้อจำกัดต่าง ๆ ตามหลักสากล หลักการ ออกแบบโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แบบต่าง ๆ ที่ทันสมัยในปัจจุบัน ทั้งในยุโรป
             สหรัฐอเมริกาและแคนาดา เช่น โรงไฟฟ้านิวเคลียร์แบบน้ำเดือด (BER) แบบความดันสูง (PWR)แบบใช้น้ำที่มีมวลหลัก (PHWR) โดยคำนึงถึงระบบ
             ควบคุมระบบป้องกันและระบบรักษาความปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพ ให้ปฏิบัติการออกแบบโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ตามความเหมาะสม

5644538 การบำบัดมลพิษในอากาศ                                                                                                                                                            3(3-0)
             Air Pollution Treatment
               
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับมลพิษทางอากาศ แหล่งมลพิษหลัก ผลของมลพิษที่มีต่อสุขภาพ มลพิษอันเกิดจากสภาวะเรือนกระจก ระบบนิเวศวิทยา มลพิษ
             ทางอากาศ เครื่องจักรกลโรงงาน โรงจักรไฟฟ้าต้นกำลัง และการวางแผนการควบคุมมลพิษ

5644601 ปฏิบัติการฟิสิกส์นิวเคลียร์และกลศาสตร์ควอนตัม                                                                                                                    1(0-3)
             Nuclear Physics and Quantum Mechanics Laboratory
                
ปฏิบัติการเพื่อศึกษาการใช้เครื่องมือในการวัดรังสีแบบต่าง ๆ สถิติการวัดรังสีธรรมชาติและคุณสมบัติการสลายตัวของสารกัมมันตรังสี อันตรกิริยา
             ของรังสีต่อสสารสเปกโทรสโกปีของรังสีแกมมา บีตา และแอลฟา ปฏิกิริยานิวเคลียร์ ไม่น้อยกว่า 10 การทดลอง สเปกตรัมของไฮโดรเจน การเคลื่อนที่
             ของอนุภาคในมิติเดียวและสามมิติโมเมนตรัมเชิงมุมและสปิน การกระเจิง

5644602 ปฏิบัติการไฮดรอลิกส์และนิวแมติกส์                                                                                                                                         1(0-3)
             Hydraulics and Pneumatics Laboratory
           
ให้ทำการทดลอง โดยออกแบบการทดลองให้ครบคลุมเนื้อหาวิชาระบบ ไฮดรอลิกส์และนิวแมติกส์ ไม่น้อยกว่า 10 การทดลอง

5644603 วิศวกรรมการประปาและสุขาภิบาล                                                                                                                                            3(3-0)
             Water Supply and Sanitary Engineering
               
ศึกษาเพื่อหาแหล่งน้ำสาธารณะ คุณภาพทั่วไป และคุณภาพที่ต้องการ ของน้ำ มาตรฐานของน้ำใช้และน้ำดื่ม การเพิ่มและลดจำนวนประชากร การ
             บริโภคน้ำ และระบบการขยาย การวางแผน การสร้างโรงเก็บน้ำ การกรองน้ำ การตรวจคุณภาพน้ำ การขจัดสารที่ไม่พึงประสงค์ การประปาสมัยใหม่
             สาธารณะสุขมูลฐาน สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม สุขาภิบาลเรื่องน้ำ การทำให้น้ำสะอาดโดยวิธีต่าง ๆ การเติมสารเคมี การวางระบบสุขาภิบาลมวลชน การขจัด
             ขยะ และน้ำโสโครก การขจัดมลพิษทางอากาศและการออกแบบระบบสุขาภิบาลภายในอาคาร ให้มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5644604 วิศวกรรมการขนส่ง                                                                                                                                                                      3(3-0)
             Transportation Engineering
               
ประเภทของการขนส่ง ทางรถไฟ ทางรถยนต์ ทางเรือ ทางอากาศ และท่อ การบริหาร การดำเนินการระบบการขนส่ง การวางแผน และการกำหนดเส้น
             ทาง การศึกษาภาวะการจราจร การวางแผนและการควบคุมการขนส่งในเมืองและชนบท การวางผังและออกแบบ ระบบขนส่งหลายโมเดล ที่อยู่ในบริเวณ
             ขอบเขตจำกัดที่คับแคบ ผลกระทบต่อการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ความสวยงาม และ สิ่งแวดล้อม

5644605 วิศวกรรมการทาง                                                                                                                                                                       3(3-0)
             Highway Engineering
                
ศึกษาประวัติการพัฒนาระบบทางหลวงในประเทศไทย การแบ่งแยกประเภทของทางหลวง ระบบการขนส่งในทางหลวง โครงสร้างถนน การวาง
             แผน และการ ออกแบบผิวจราจร มาตรฐานทางโดยทั่วไป มาตรฐานทางหลวง การสำรวจปริมาณการจราจรเพื่อประกอบการพิจารณาออกแบบ โครงสร้าง
             ทางและผิวทาง ร่องข้างทาง วิธีการก่อสร้างทาง ผิวจราจรแบบยืดหยุ่นและแบบแข็ง วัสดุก่อสร้างทาง การเงินและเศรษฐกิจการทาง การควบคุมการใช้ทาง
             การบำรุงรักษาทางและไหล่ทาง สะพานและทางระบายน้ำ การซ่อมและบำรุงรักษาทาง ปฏิบัติการทดสอบวัสดุในงานผิวทาง ชั้นรองพื้นทางและพื้นทาง ให้
             มีการสาธิตตามความเหมาะสม

5644606 เทคนิคการออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก                                                                                                                    3(3-0)
             Reinforced Concrete Design Technique
                
หลักการออกแบบโครงสร้าง คอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีหน่วยแรงใช้งานและวิธีความคงทนท้ายสุด และนำไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบคอนกรีต
             เสริมเหล็ก เช่น คาน วัสดุแผ่น เสา ขั้นบันได ฐาน กำแพงกันดิน กรอบของกำแพง และตัวรองรับสาธิตออกแบบตามความเหมาะสม

5644607 วิธีใช้คอมพิวเตอร์สำหรับช่างโยธา                                                                                                                                            3(2-2)
             Computer Method for Civil Engineers
               
ทบทวน การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การแก้สมการเชิงเส้น การเก็บข้อมูลและการจำแนกข้อมูลแบบต่าง ๆ การแยกแกนหลักทีละส่วน ความผิด
             พลาด และสภาพบกพร่อง การทำซ้ำสำหรับสมการเชิงเส้นโดยวิธีจาโคบี วิธีเกาส์-ไซเดล และวิธีประมาณการแบบต่อเนื่อง การประมาณค่าภายใน และการ
             ปรับเส้นโค้งที่ใช้เทียบ การอินทเกรตเชิงตัวเลข วิธีการประมาณค่าต่อเนื่องของการโค้งงอของเสา และคาน การแก้สมการที่ไม่เป็นเชิงเส้น การใช้คอมพิว
             เตอร์กราฟิก เช่น การออกแบบและเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ พร้อมทั้งให้เขียนโปรแกรมส่งประมาณ 9 ชิ้น โดยใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ และเมนเฟรม
             คอมพิวเตอร์ โดยเน้นการนำไปประยุกต็ใช้ในทางวิศวกรรมโยธา

5644608 อุทกวิทยาและวิศวกรรมชลประทาน                                                                                                                                         3(2-2)
             Hydrology and Irrigation Engineering
               
วัฏจักรทางอุทกวิทยา น้ำฝน การซึมของน้ำผ่านผิวดิน การไหลบ่า การวัดปริมาณน้ำ และน้ำฝน กราฟของน้ำ อ่างน้ำ การระเหยของน้ำ ปริมาณน้ำที่พืช
             ใช้ การพยากรณ์น้ำท่วม ทางที่น้ำจะไหลบ่า การวัดปริมาณและระดับน้ำทางอุทกวิทยา ตัวแปรทางอุตุนิยมวิทยา การวัดน้ำในการชลประทาน การส่งและ
             การควบคุมปริมาณน้ำ การปรับหน้าดิน การวางผังบริเวณและวิธีการประยุกต์ใช้น้ำ ให้มีการสาธิตและ ปฏิบัติการตามความเหมาะสม

5644609 ปฏิบัติการออกแบบโครงสร้างวัสดุเสริมและการก่อสร้าง                                                                                                          1(0-3)
             Pre-stressed Structural Design and Construction Laboratory
                
ให้ทำการทดลองโดยออกแบบการทดลองให้ครอบคลุมเนื้อหาวิชาการออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก การออกแบบโครงสร้างไม้หรือโครง
             สร้างเหล็ก เทคนิคการก่อสร้าง เช่น ทดสอบเกี่ยวกับพฤติกรรมของเสา หลังคา คานอย่างง่าย คานต่อเนื่อง คานเหล็กหรือไม้ที่ใช้ทำตอม่อ กรอบที่ทำด้วย
             วัสดุแข็งแรง กรอบประตู คานในช่วงประตู เสาหิน การประยุกต์ใช้เครื่องดึง การวัดแรงดึงในรูปแบบของโครงสร้างไม้น้อยกว่า 10 การทดลอง

5644610 เทคนิคการออกแบบโครงสร้างใต้ดิน                                                                                                                                         3(2-2)
             Substructure Design Technique
                
ศึกษาวิธีการเจาะดินเพื่อนำมาวิเคราะห์และประเมินผล การทรุดตัวของดิน ความสามารถในการรับน้ำหนักของดินและฐานราก แรงดันของดิน
             เสถียรภาพของดิน การออกแบบฐานราก และกำแพงกั้นดินประเภทต่าง ๆ เข็มเดี่ยว เข็มกลุ่ม เข็มฝืด และเทคนิควิธีการออกแบบโครงสร้างใต้ดิน
             ให้มีการสาธิตและปฏิบัติการตามความเหมาะสม

5644611 เทคนิคการออกแบบผิวจราจร                                                                                                                                                  3(2-2)
             Traffic Pavement Design Technique
                
ชนิดของผิวถนน และชนิดของล้อบรรทุก หลักการออกแบบผิวถนน และ ผิวสนามบิน ความเค้นที่เกิดขึ้นบนผิวถนนที่ยืดหยุ่น และผิวแข็ง คุณสมบัติของ
             ผิวจราจรชนิดต่าง ๆ การออกแบบผิวถนนที่ยืดหยุ่นและผิวถนนที่แข็ง การต้านทาน การไหลของผิวจราจร การก่อสร้าง และการบำรุงรักษาพื้นถนน
             ให้มีการสาธิตและปฏิบัติการตามความเหมาะสม

5644612 ปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้าแรงดันสูง                                                                                                                                        1(0-3)
             High Voltage Engineering Laboratory
               
ให้ทำการทดลอง โดยออกแบบให้ครอบคลุมเนื้อหาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าแรงดันสูง ไม้น้อยกว่า 8 การทดลอง

5644613 ปฏิบัติการแปรรูปพลังงานกลไฟฟ้า                                                                                                                                         1(0-3)
             Electromechanical Conversion Laboratory
                
ให้ทำการทดลอง โดยออกแบบให้ครอบคลุมเนื้อหาวิชาการแปรรูป พลังงานกลไฟฟ้า ไม่น้อยกว่า 10 การทดลอง

5644614 ปฏิบัติการระบบควบคุมแบบป้อนกลับ                                                                                                                                           1(0-3)
             Feedback Control System Laboratory
                
ให้ทำการทดลองโดยออกแบบให้ครอบคลุมเนื้อหาวิชาระบบควบคุมแบบป้อนกลับ ไม่น้อยกว่า 10 การทดลอง

5644615 ปฏิบัติการวิศวกรรมการสื่อสาร                                                                                                                                                    1(0-3)
             Communication Engineering Laboratory
                
ให้ทำการทดลองโดยออกแบบให้ครอบคลุมเนื้อหาวิชาแม่เหล็กไฟฟ้าวิศวกรรม และวิชาหลักการระบบการสื่อสาร ไม่น้อยกว่า 10 การทดลอง

5644616 ปฏิบัติการวิศวกรรมเครื่องกล 3                                                                                                                                                 1(0-3)
             Mechanical Engineering Laboratory 3
                
ให้ทำการทดลองเกี่ยวกับเชื้อเพลิง การวิเคราะห์สันดาป แคลอรี่มิเตอร์ การทำงานของกังหันไอน้ำ การหาสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อน การทำงาน
             ของเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน การเก็บพลังงานของเซลล์แสงอาทิตย์ การทำงานของกังหัน และเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีพลังงาน ไม่น้อยกว่า 10
             การทดลอง

5644617 ปฏิบัติการวิศวกรรมเครื่องกล 4                                                                                                                                                1(0-3)
             Mechanical Engineering Laboratory 4
                
ให้ทำการทดลองเกี่ยวกับเรื่องของการวัดอุณหภูมิ แรงดัน เวลา ความเร็ว พื้นที่ปริมาณ น้ำหนัก อัตราการไหล การวัดกำลัง การทดสอบคุณสมบัติ
             ทางฟิสิกส์ของวัสดุ การทดลองคุณสมบัติทางฟิสิกส์และทางกลของเชื้อเพลิง และสารหล่อลื่น การทดลองเครื่องยนต์สันดาปภายใน การทดลองทาง
             กลศาสตร์ของไหล เช่น การไหลในท่อ Orifices pump turbine และการสั่นสะเทือน ไม่น้อยกว่า 10 การทดลอง

5644618 ปฏิบัติการวิศวกรรมเครื่องกล 5                                                                                                                                                1(0-3)
             Mechanical Engineering Laboratory 5
                
ให้ทำการทดลองเกี่ยวกับการนำเครื่องมือสมัยใหม่ไปใช้ในงาน อุตสาหกรรม อย่างมีประสิทธิภาพ ทันต่อความเจริญก้าวหน้าในยุคโลกาภิวัตน์

5644619 ปฏิบัติการเทคโนโลยีนิวเคลียร์                                                                                                                                                   1(0-3)
             Nuclear Technology Laboratory
                
ให้ทำการทดลอง โดยออกแบบให้ครอบคลุมเนื้อหาวิชาฟิสิกส์นิวเคลียร์ การรักษาความปลอดภัยจากรังสี การกำบังรังสี ไม่น้อยกว่า 10 การทดลอง

5644620 การออกแบบโครงสร้างไม้และโครงสร้างเหล็ก                                                                                                                         3(3-0)
             Timber and Steel Design
                
ศึกษาคุณสมบัติของไม้และเหล็ก การคำนวณเพื่อออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็กเพื่อรับแรง โดยใช้ทฤษฎีต่าง ๆ การคำนวณเกี่ยวกับแรงดันและ
             แรงกดของคานเสา เหล็กส่วนประกอบ แผ่นเหล็กที่ใช้เชื่อม คานเหล็กประกอบเพื่อต่อชิ้นส่วนโครงสร้าง อาคารและสะพาน การประยุกต์ใช้โครงสร้าง
             ไม้และเหล็ก เช่น เสา คาน ตง โครงสร้างไม้และชิ้นส่วนของอาคาร

5644621 ปฏิบัติการกลศาสตร์ปฐพีและวิศวกรรมฐานราก                                                                                                                   1(0-3)
             Soil Mechanics and Foundation Engineering

                ให้อาจารย์ผู้สอนออกแบบการทดลอง โดยครอบคลุมเนื้อหาของวิชา กลศาสตร์ปฐพี และเทคโนโลยีวิศวกรรมฐานราก ให้นักศึกษาปฏิบัติการไม่น้อย
             กว่า 8 การทดลอง

5644622 ปฏิบัติการวิศวกรรมชลศาสตร์ การประปา และสุขาภิบาล                                                                                                     1(0-3)
             Hydraulics Water Supply and sanitary Engineering Laboratory
                
ให้อาจารย์ผู้สอนออกแบบการทดลอง โดยครอบคลุมเนื้อหาวิชาของวิศวกรรมชลศาสตร์ วิศวกรรมการประปาและสุขาภิบาล ให้นักศึกษาปฏิบัติการไม่
             น้อยกว่า 8 การทดลอง

5644623 ปฏิบัติการอุตสาหกรรม 3                                                                                                                                                       1(0-3)
             Industrial Laboratory 3
                
ให้ปฏิบัติการโดยออกแบบให้ครอบคลุมเนื้อหาวิชาวิศวกรรมคุณค่า การวิเคราะห์ต้นทุน การจัดการความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมในงานอุตสาหกรรม
             การควบคุมและการขจัดของเสีย การศึกษาความเป็นไปได้ การบำรุงรักษาทางวิศวกรรมโลหการวิศวกรรม กระบวนการผลิต วัสดุวิศวกรรม ไม่น้อยกว่า
             10 การทดลอง

5644624 ปฏิบัติการอุตสาหกรรม 4                                                                                                                                                        1(0-3)
             Industrial Laboratory 4
                
ให้ปฏิบัติการโดยออกแบบให้ครอบคลุมเนื้อหาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล พื้นฐาน และวิศวกรรมไฟฟ้าพื้นฐาน ไม่น้อยกว่า 10 การทดลอง

5644625 ทฤษฎีแถวคอย                                                                                                                                                                          3(3-0)
             Queueing Thoeory
                
ศึกษาโครงสร้างและสัญลักษณ์ที่ใช้ในระบบแถวคอย ตัวแบบแถวคอย ลักษณะของปัญหาในระบบแถวคอย การวิเคราะห์ระบบ การรอคอยรูปแบบแถว
             คอยปัวส์ซองที่มี 1 ช่องทางบริการ และหลายช่องทางบริการ รูปแบบแถวคอยที่มีจำนวนหน่วยบริการเป็นสัดส่วนโดยตรงกับจำนวนลูกค้าในระบบ รูปแบบ
             แถวคอยที่ไม่เป็นแบบปัวส์ซอง รูปแบบการบริการแบบเออร์แลงค์ รูปแบบการบริการใด ๆ โดยใช้สูตร P-k ตัวแบบจำลองสถานการณ์ ตัวแบบลูกโซ่
             มาร์คอฟ การวิเคราะห์ปัญหารอคอยโดยวิธี มอนติคาร์โล การคำนวณความน่าจำเป็นที่จะมีลูกค้าอยู่ในระบบแถวคอย n คน ทฤษฎีเกมส์ รูปแบบต่าง ๆ
             ของปัญหาแถวคอยและค่าใช้จ่ายในระบบแถวคอย การแก้ปัญหาโดยวิธีตัวคูณลากรองจ์ และมาร์โคเฟียน

5644701 กฎหมายอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม                                                                                                                                    3(3-0)
             Industrial and Commercial Laws

                กฎหมายประเพณีเกี่ยวกับการส่งเข้าและส่งออก กฎหมายเกี่ยวกับการ ส่งเสริมการลงทุน กฎหมายเกี่ยวกับพิกัดภาษีศุลกากร กฎหมายโรงงาน กฎหมาย
             สิ่งแวดล้อม การจดทะเบียนสิทธิบัตร ยืม ฝากทรัพย์ จำนอง จำนำเช็ค ตั๋วแลกเงิน การประกันเครื่องหมายการค้า ลิขสิทธิ์ กฎหมายแรงงานสัมพันธ์ เงินทด
             แทนการเลิกจ้าง การเรียกร้อง การเจรจา การนัดหยุดงาน ข้อพิพาทศาลแรงงาน พ.ร.บ. ควบคุม วิชาชีพสถาปัตยกรรม และวิศวกรรม และอำนาจหน้าที่
             ของผู้ควบคุมงาน

5644702 กฎหมายไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์                                                                                                                                               3(3-0)
             Electrical and Electronics Law
                
ศึกษามาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ข้อกำหนดและเกณฑ์มาตรฐานของ ประเทศไทยและต่างประเทศ กฎหมายแรงงาน พระราชบัญญัติวิชาชีพ
             วิศวกรรม ข้อกำหนดการติดตั้งและเดินสายไฟฟ้าของการไฟฟ้า ข้อกำหนดด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานด้านไฟฟ้า กฎหมายวิทยุสากล และมาตรฐาน
             เครื่องหรืออุปกรณ์เกี่ยวข้องกับการใช้วิทยุโทรคมนาคม และอิเล็กทรอนิกส์ ระเบียบเกี่ยวกับการขออนุญาตการใช้ ความถี่วิทยุและวิทยุสมัครเล่น

5644703 เทคนิคการวิเคราะห์ความวิบัติในการก่อสร้าง                                                                                                                           3(3-0)
             Construction Failure Analysis Technique
                
ศึกษาความหมายของคำว่า “วิบัติ” สาเหตุที่อาจจะทำให้เกิดการวิบัติ ปัญหาความผิดพลาดในการก่อสร้าง การวิบัติที่เกิดจากแรงทางด้านข้าง การ
             วิบัติ ที่เกิดจากสาเหตุอื่น ๆ เช่น การใช้อาคารผิดประเภท ปฏิกิริยาทางเคมี การต่อเติมเกิน Factor Safety ศึกษารอยร้าวลักษณะ และประเภทรอยร้าว วิธี
             การป้องกัน และซ่อมแซมทั้งอาคารที่เป็นไม้ เหล็ก และคอนกรีตเสริมเหล็ก

5644901 การวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีฟิสิกส์อุตสาหกรรม                                                                                                                      3(2-2)
             Research for Industrial Physics Technology Development
                
ศึกษาทฤษฎีและหลักการวิจัย การกำหนดหัวข้อวิจัย วัตถุประสงค์และ ขอบเขตของการวิจัย การวางแผนการวิจัย การเขียนโครงการวิจัย การสร้างแบบ
             วิจัย การสร้างและใช้เครื่องมือในการวิจัย ขั้นตอนในการวิจัย การเริ่มทำการวิจัย การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ การแปลความหมายข้อมูล
             การสรุปผลการวิจัย การเขียนรายงานการวิจัย การเสนอผลงานวิจัยและทำการวิจัย เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีฟิสิกส์ อุตสาหกรรมให้สอดคล้องกับกลุ่มวิชาที่
             เลือกเรียน โดยคำนึงถึงเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของประเทศ เพื่อการพึ่งพาตนเองของชุมชน และสังคมอย่างมั่นคง
             โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการในภาควิชา หรือโปรแกรมวิชา

5644902 การวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีนิวเคลียร์                                                                                                                                       3(2-2)
             Research for Nuclear Technology Development
                
ศึกษาทฤษฎีและหลักการวิจัย การกำหนดหัวข้อวิจัย วัตถุประสงค์และขอบเขต ของการวิจัย การวางแผนการวิจัย การเขียนโครงการวิจัย การสร้างแบบ
             วิจัย การสร้างและใช้เครื่องมือในการวิจัย ขั้นตอนในการวิจัย การเริ่มทำการวิจัย การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ การแปลความหมายข้อมูล
             การสรุปผลการวิจัย การเขียนรายงานการวิจัย การเสนอผลงานวิจัย และทำการวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
             ของประเทศ เพื่อการพึ่งพาตนเองของชุมชน และสังคมอย่างมั่นคง โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการในภาควิชา หรือ โปรแกรมวิชา

5644903 การวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิตอุตสาหกรรม                                                                                                      3(2-2)
             Research for Industrial Productivity Technology Development
                
ศึกษาทฤษฎีและหลักการวิจัย การกำหนดหัวข้อวิจัย วัตถุประสงค์และขอบเขต ของการวิจัย การวางแผนการวิจัย การเขียนโครงการวิจัย การสร้างแบบ
             วิจัย การสร้างและใช้เครื่องมือในการวิจัย ขั้นตอนในการวิจัย การเริ่มทำการวิจัย การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ การแปลความหมายข้อมูล
             การสรุปผลการวิจัย การเขียนรายงานการวิจัย การเสนอผลงานวิจัย และทำการวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
             ของประเทศ เพื่อการพึ่งพาตนเองของชุมชน และสังคมอย่างมั่นคง โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการในภาควิชา หรือโปรแกรมวิชา

5644904 การวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีฟิสิกส์โครงสร้าง                                                                                                                          3(2-2)
             Research for Structural Physics Technology Development
                
ศึกษาทฤษฎีและหลักการวิจัย การกำหนดหัวข้อวิจัย วัตถุประสงค์และขอบเขต ของการวิจัย การวางแผนการวิจัย การเขียนโครงการวิจัย การสร้างแบบ
             วิจัย การสร้างและใช้เครื่องมือในการวิจัย ขั้นตอนในการวิจัย การเริ่มทำการวิจัย การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ การแปลความหมายข้อมูล
             การสรุปผลการวิจัย การเขียนรายงานการวิจัย การเสนอผลงานวิจัย และทำการวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีฟิสิกส์โครงสร้าง ให้สอดคล้องกับกลุ่มวิชาที่เลือก
             เรียน โดยคำนึงถึงเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของประเทศเพื่อการพึ่งพาตนเองของชุมชน และสังคมอย่างมั่นคง โดยได้รับ
             ความเห็นชอบจากคณะกรรมการในภาควิชา หรือโปรแกรมวิชา

5644905 การวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีไฟฟ้ากำลัง                                                                                                                               3(2-2)
             Research for Power Electrical Technology Development
                
ศึกษาทฤษฎีและหลักการวิจัย การกำหนดหัวข้อวิจัย วัตถุประสงค์และขอบเขต ของการวิจัย การวางแผนการวิจัย การเขียนโครงการวิจัย การสร้างแบบ
             วิจัย การสร้างและใช้เครื่องมือในการวิจัย ขั้นตอนในการวิจัย การเริ่มทำการวิจัย การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ การแปลความหมายข้อมูล
             การสรุปผลการวิจัย การเขียนรายงานการวิจัย การเสนอผลงานวิจัยและทำการวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีไฟฟ้ากำลัง ให้สอดคล้องกับกลุ่มวิชาที่เลือก
             เรียนโดยคำนึงถึง เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของประเทศเพื่อการพึ่งพาตนเองของชุมชน และสังคมอย่างมั่นคง โดยได้
             รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการในภาควิชา หรือโปรแกรมวิชา

5644906 การวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีไฟฟ้าสื่อสาร                                                                                                                                                                                                                              3(2-2)
             Research for Communication Electrical Technology Development
                
ศึกษาทฤษฎีและหลักการวิจัย การกำหนดหัวข้อวิจัย วัตถุประสงค์และ ขอบเขต ของการวิจัย การวางแผนการวิจัย การเขียนโครงการวิจัย การสร้างแบบ
             วิจัย การสร้างและใช้เครื่องมือในการวิจัย ขึ้นตอนในการวิจัย การเริ่มทำการวิจัย การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ การแปลความหมายข้อมูล
             การสรุปผลการวิจัย การเขียนรายงานการวิจัย การเสนอผลงานวิจัย และทำการวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีไฟฟ้าสื่อสาร ให้สอดคล้องกับกลุ่มวิชาที่เลือก
             เรียนโดยคำนึงถึงเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของประเทศเพื่อการพึ่งพาตนเองของชุมชนและสังคมอย่างมั่นคง โดยได้
             รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการในภาควิชา หรือโปรแกรมวิชา

5644907 การวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีฟิสิกส์เครื่องจักรกล                                                                                                                3(2-2)
             Research for Mechanical Physics Technology Development
                
ศึกษาทฤษฎีและหลักการวิจัย การกำหนดหัวข้อวิจัย วัตถุประสงค์และ ขอบเขต ของการวิจัยการวางแผนการวิจัย การเขียนโครงการวิจัย การสร้างแบบ
             วิจัย การสร้างและใช้เครื่องมือในการวิจัย ขึ้นตอนในการวิจัย การเริ่มทำการวิจัย การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ การแปลความหมายข้อมูล
             การสรุปผลการวิจัย การเขียนรายงานการวิจัย การเสนอผลงานวิจัย และทำการวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีไฟฟ้าสื่อสาร ให้สอดคล้องกับกลุ่มวิชาที่เลือก
             เรียน โดยคำนึงถึงเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของประเทศเพื่อการพึ่งพาตนเองของชุมชน และสังคมอย่างมั่นคง โดยได้
             รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการในภาควิชา หรือโปรแกรมวิชา

5644908 สัมมนาฟิสิกส์อุตสาหกรรม                                                                                                                                                       3(2-2)
             Industrial Physics Seminar
                 
ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ ความก้าวหน้าของผลงานวิจัย และปัญหาทางฟิสิกส์ อุตสาหกรรม ให้สอดคล้องกับกลุ่มวิชาที่เลือกเรียนมาอภิปรายเพื่อแก้
             ปัญหาต่าง ๆ อย่างมีเหตุผลตามวิธีการและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจนฝึกเขียนโครงการ หรือโครงงาน หรือรายงานตามความเหมาะสม ทั้งวิธี
             การและการปฏิบัติอย่างเป็นระบบ ผลผลิตอุตสาหกรรม ให้สอดคล้องกับกลุ่มวิชาที่เลือกเรียน โดยคำนึงถึงเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับเศรษฐกิจ สังคม และ
             สิ่งแวดล้อมของ ประเทศเพื่อการพึ่งพาตนเองของชุมชน และสังคมอย่างมั่นคง โดยใช้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการในภาควิชา หรือโปรแกรมวิชา

5644909 สัมมนาเทคโนโลยีนิวเคลียร์                                                                                                                                                          3(2-2)
             Nuclear Technology Seminar
                
ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ ความก้าวหน้าของผลงานวิจัย และปัญหาทาง นิวเคลียร์ เทคโนโลยี ให้สอดคล้องกับกลุ่มวิชาที่เลือกเรียนมาอภิปรายเพื่อแก้
             ปัญหาต่าง ๆ อย่างมีเหตุผล ตามวิธีการและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจนฝึกเขียนโครงการหรือโครงงาน หรือรายงานตามความเหมาะสม ทั้งวิธี
             การและการปฏิบัติอย่างเป็นระบบ

5644910 สัมมนาการเพิ่มผลผลิตอุตสาหกรรม                                                                                                                                          3(2-2)
             Industrial Productivity Seminar
                
ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ ความก้าวหน้าของผลงานวิจัย และปัญหาทางการเพิ่มผลผลิตอุตสาหกรรม ให้สอดคล้องกับกลุ่มวิชาที่เลือกเรียนมาอภิปราย
             เพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ อย่างมีเหตุผล ตามวิธีการและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจนฝึกเขียนโครงการหรือโครงงาน หรือรายงานตามความเหมาะสม
             ทั้งวิธีการและการปฏิบัติอย่างเป็นระบบ

5644911 สัมมนาฟิสิกส์โครงสร้าง                                                                                                                                                              3(2-2)
             Structural Physics Seminar
                
ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ ความก้าวหน้าของผลงานวิจัย และปัญหาทางฟิสิกส์โครงสร้าง ให้สอดคล้องกับกลุ่มวิชาที่เลือกเรียนมาอภิปรายเพื่อแก้ปัญหา
             ต่าง ๆ อย่างมีเหตุผล ตามวิธีการและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจนฝึกเขียนโครงการหรือโครงงาน หรือรายงานตามความเหมาะสม ทั้งวิธีการและ
             การปฏิบัติอย่างเป็นระบบ

5644912 สัมมนาไฟฟ้ากำลัง                                                                                                                                                                    3(2-2)
             Power Electrical Seminar
                
ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ ความก้าวหน้าของผลงานวิจัย และปัญหาทาง ไฟฟ้ากำลัง ให้สอดคล้องกับกลุ่มวิชาที่เลือกเรียนมาอภิปรายเพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ
             อย่างมีเหตุผล ตามวิธีการและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจนฝึกเขียนโครงการหรือโครงงาน หรือรายงานตามความเหมาะสม ทั้งวิธีการและการ
             ปฏิบัติอย่างเป็นระบบ

5644913 สัมมนาไฟฟ้าสื่อสาร                                                                                                                                                                 3(2-2)
             Communication Electrical Seminar
                
ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ ความก้าวหน้าของผลงานวิจัย และปัญหาทางไฟฟ้า สื่อสาร ให้สอดคล้องกับกลุ่มวิชาที่เลือกเรียนมาอภิปรายเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ
             อย่างมีเหตุผล ตามวิธีการและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจนฝึกเขียนโครงการหรือโครงงาน หรือรายงานตามความเหมาะสม ทั้งวิธีการและการ
             ปฏิบัติอย่างเป็นระบบ

5644914 สัมมนาฟิสิกส์เครื่องจักรกล                                                                                                                                                      3(2-2)
             Mechanical Physics Seminar
                
ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ ความก้าวหน้าของผลงานวิจัย และปัญหาทางฟิสิกส์ เครื่องจักรกล ให้สอดคล้องกับกลุ่มวิชาที่เลือกเรียนมาอภิปรายเพื่อแก้
             ปัญหาต่าง ๆ อย่างมีเหตุผล ตามวิธีการและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจนฝึกเขียนโครงการหรือโครงงาน หรือรายงานตามความเหมาะสม ทั้งวิธี
             การและการปฏิบัติอย่างเป็นระบบ

ก่อนหน้า ต่อไป